The Law of Public Assembly : Equilibrium between the Freedom of Protesters and People

Main Article Content

Chalat Pratheuangrattana

Abstract

The objectives of this study are: 1) to study the concepts and principles of assembly in public and to undertake comparative study of public assembly law in target countries; 2) to study the context of public assembly in Thai society and compare various Thai groups’ recommendations concerning public assembly law and; 3) to suggest an equilibrium between the freedom of protesters and people. All data were collected from relevant documents and through two group discussions, one arranged in Bangkok and one in Roi Et Province. Target informants were academics, private sector individuals affected by public assembly, NGO personnel, lawyers, and judges. The research found that England, France, Germany, and South Korea have peaceful assembly provisions in their constitutions and laws, but the United States of America does not. Regarding public assembly in Thailand between 1932 and 2014, there are differences in the total number of public assembly. Various groups in Thailand hold differing views on public assembly law: freedom versus control. This study suggests the following measures: 1) there should be public assembly law that provides equilibrium between the freedom of protesters and people. 2) the freedom of assembly is an important principle that shall be guaranteed despite limitation in some cases. 3) the substance of public assembly law should require: that an organiser shall provide information about their demonstration; that duties of the organiser and a person who participates in a public assembly shall be identified; that officials should have authority to stop public assembly and the organizer should be able to appeal and; that the duties of the police and the body of knowledge of public assembly, the dispersal of the public assembly, the public assembly at night, places prohibited to public assembly, and penalty shall be specified

Article Details

How to Cite
Pratheuangrattana, Chalat. “The Law of Public Assembly : Equilibrium Between the Freedom of Protesters and People”. Naresuan University Law Journal 9, no. 1 (June 30, 2016): 125. Accessed November 21, 2024. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawnujournal/article/view/98705.
Section
Research Articles
Author Biography

Chalat Pratheuangrattana, Academic

ประวัติ

 

ชื่อ:

ชลัท ประเทืองรัตนา  / Chalat Pratheuangrattana

การศึกษา :

 - ปริญญาโท ด้านรัฐศาสตร์  สาขาวิชาการปกครอง  รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-  ปริญญาตรี ด้านสังคมศาสตร์พัฒนา  อักษรศาสตร์บัณฑิต  มหาวิทยาลัยศิลปากร 

ประสบการณ์การทำงาน :

- ปัจจุบัน  นักวิชาการผู้ชำนาญการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล

สถาบันพระปกเกล้า

-ปัจจุบัน เป็นผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญา

- ตุลาคม 2545  –มีนาคม 2547  เลขานุการกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

งานวิจัย/หนังสือ/บทความ  

 

-รายงานวิจัย กฎหมายการชุมนุมสาธารณะในสังคมไทย : ดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของผู้ชุมนุมกับเสรีภาพของประชาชน

-รายงานวิจัย ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสำเร็จในการไกล่เกลี่ยโดยคนกลางในสถานศึกษา

-รายงานวิจัย “แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่างสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย

-รายงานวิจัย “การจัดการความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ภาคเหนือโดยระบบคนกลาง”

-รายงานวิจัย “ความขัดแย้งในการใช้พื้นที่หนองใหญ่ตำบลบางลึก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร”

-รายงานวิจัย “การสร้างความปรองดองแห่งชาติ”

- รายงานวิจัย “ประชาพิจารณ์ปัญหาและทางออกในประเทศไทย” สนับสนุนโดย Thailand  Development  Research  Institution (TDRI)

-รายงานวิจัย “สิทธิ เสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในประเทศไทย”  สนับสนุนงบประมาณโดย สกว.

-หนังสือ การเจรจาไกล่เกลี่ยไม่เกลี้ยกล่อม จัดพิมพ์โดยสถาบันพระปกเกล้า

-บทความ “สันติวิธี ? : กำนันสไตล์” วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่12 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2557

-บทความ “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ” ในหนังสือองค์กรตามรัฐธรรมนูญฐานความรู้และบทเรียนเพื่อการปฏิรูป จัดพิมพ์โดยสถาบันพระปกเกล้า

-บทความวิจัย “แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่างสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย” ตีพิมพ์ในวารสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 53 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2556)

-บทความ “ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเจรจาไกล่เกลี่ย ตีพิมพ์ในวารศาลศาลยุติธรรมปริทัศน์ ฉบับธันวาคม 2554-มกราคม 2555.

-บทความ “ความรุนแรงและทางออกกรณีความเห็นต่างทางการเมือง : แสงสว่างที่ปลายอุโมงค์สำหรับสังคมไทย ? ตีพิมพ์ในวารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2554.

-บทความ “เจรจาไกล่เกลี่ยไม่เกลี้ยกล่อม” ตีพิมพ์ในวารสารรัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉ.ที่12 ธันวาคม 2554

-บทความ “ความยุติธรรมช่วงเปลี่ยนผ่านและการสร้างความสมานฉันท์” ปีที่ 60 ฉ.ที่ 1 มกราคม 2555

-บทความ “ความขัดแย้งในการใช้พื้นที่หนองใหญ่ ตำบลบางลึก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร” ตีพิมพ์ในวารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ฉบับที่ 1 ธันวาคม- พฤษภาคม 2554

-บทความ “กระบวนการและปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการความขัดแย้ง กรณีประตูกั้นน้ำจืด-น้ำเค็ม แพรกหนามแดง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามและกรณีผ่าตัดต้อกระจกติดเชื้อ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น” ตีพิมพ์ในวารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2555

-บทความ “คานธีกับการชุมนุมโดยสันติวิธีในสังคมไทย” ตีพิมพ์ในวารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2550

-บทความ “การสร้างสันติภาพในมินดาเนา ฟิลิปปินส์ : ประเด็นที่ควรพิจารณาสำหรับสังคมไทย” ตีพิมพ์ในวารสารศรีปทุมปริทัศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2551

-บทความ โครงการวงดนตรีออร์เคสตร้า เทศบาลนครยะลา ภายใต้โครงการรางวัลพระปกเกล้า 52 ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์

-บทความ “Mediation in Thailand : Key to success and  failure” นำเสนอ ณ ประเทศมาเลเซีย 2551 ในการประชุม Asia –Pacific Mediation Forum Conference ระหว่างวันที่ 16-18 มิถุนายน 2551

การอบรม   

-ประกาศนียบัตร “Methods for Dialogue and Collaborative Action ระหว่างวันที่ 5-7 กุมภาพันธ์  2552  จัดอบรมโดย Friedrich Ebert Stiftung  - FES

-ประกาศนียบัตร หลักสูตรแนวคิดพื้นฐานการจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสันติวิธีรุ่นที่ 5 อบรมระยะเวลา 5 เดือน ช่วงปี 2551  จัดอบรมโดยสถาบันพระปกเกล้า   

-ประกาศนียบัตร หัวข้อ “Reconciliation and  Conflict  Resolution” ระหว่างวันที่ 11-13 มีนาคม  2548  จัดอบรมโดยสถาบันพระปกเกล้า 

-ประกาศนียบัตร  “Deliberation  and  Conflict  Resolution” ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2548  จัดอบรมโดยสถาบันพระปกเกล้า

-ประกาศนียบัตร “Public  Participation and  Conflict  Resolution” 2-4 พฤศจิกายน  2547    

-ประกาศนียบัตร “Foundation of Democracy” 18-22 มกราคม 2553

กิจกรรมอื่น ๆ

- ตุลาคม 2546 –มีนาคม 2548  , อนุกรรมการชาติพันธุ์  ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

- ตุลาคม 2546- ,มีนาคม 2548  ,อนุกรรมการการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในสังคม  

-อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ,มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ

-ปัจจุบันเป็นกรรมการบริหารหลักสูตรการจัดการความขัดแย้งการจัดการ   ความขัดแย้งเรื่องนโยบายสาธารณะ

-ผู้ประนีประนอมศาลจังหวัดมีนบุรี  

-เป็นวิทยากรด้านการจัดการความขัดแย้งและสันติวิธีให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหลายหน่วยงาน กระทรวงสาธารณสุข  กระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ สภาความมั่นคงแห่งชาติ กรมชลประทาน  มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต  มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยต่างๆ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ฯลฯ 

-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสันติวิธี สถาบันพระปกเกล้า  

-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรประกาศนียบัตรนักเจรจาไกล่เกลี่ย  สถาบันพระปกเกล้า

-อนุกรรมการเสริมสร้างศักยภาพงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

ที่อยู่

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา  อาคารบี  ชั้น 5 (โซนทิศใต้)

เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ  แขวงทุ่งสองห้อง  เขตหลักสี่

กรุงเทพ ฯ  10210 

โทรศัพท์ :

02-141-9533     

โทรสาร :

02-143-8173   

Mobile:

081-685-4518   

E-mail:

kengchalat@gmail.com

chalat@kpi.ac.th

References

Vongsurawat, K. Constitution and governance of the United State of America. Bangkok: National Agricultural Extension and Training Center, 2001. [In Thai]

National Human Rights Commission. Recommendation from national human Rights commission to government : A case of Baan-Krud and Bor Nok coal power plant and Thailand-Malaysia pipeline project 2004. Bangkok: National Human Rights Commission Office, 2007. [In Thai]

National Human Rights Commission. Report of the investigation of human rights : A case of violence in Thailand-Malaysia pipeline project. Bangkok: National Human Rights Commission Office, 2007. [In Thai]

Commission of Fact Finding. Report of commission of fact finding : A case of death in Takbai, Narathiwat province. Bangkok: OS Printing House, 2004. [In Thai]

Aimmayura, C. “Draft of Public Assembly act: And Rules that should be Included.” Chulniti Journal. 6, no.4 (2009): 59-70. [In Thai]

Sharp, G. Power, struggle and defence. Translated by Chaiwat Satha-Anand. Bangkok: KledThai Ltd, 1986. [In Thai]

Prachathai. "Criticizing 8 problems of draft of peaceful assembly act." Last modified 2014. Accessed April 4, 2014. www.prachatai.org/journal/2015/03/58468. [In Thai]

Nilaprapan, P. “Peaceful assembly law in foreign countries.” Journal of Administrative Law, 27, no.1 (2012): 3-68. [In Thai]

Pintobtang, P. Politics on road : 99 days of assembly of the Poor. Bangkok: Center for research and textbook of Krirk University, 1998. [In Thai]

Dhewanaruemitkul, P. Recommendation on social rule and the law of the freedom of peaceful assembly. Document in Seminar for Government and Social.11-12 September 2007 at Tulip Room Ramagarden Hotel Bangkok, 2007. [In Thai]

Tanrangsan, P. “Freedom of assembly : What will Thailand benefit from the public assembly act?.” Chulniti Journal. 6, no.4 (2007): 71-79. [In Thai]

Boonpong, Y. “Freedom of assembly.” Administrative Court Journal. 11, no.3 (2011): 29-44. [In Thai]

Singto, V. “Law of assembly and demonstration law and administrative law enforcement spersing the assembly in Germany.” Administrative Court Journal. 27, no.1 (2010): 106-129. [In Thai]

Charoenchaiyong, V. “Law of the freedom of assembly.” Thesis Master of Laws, Chulalongkorn University, Faculty of Law, 1996. [In Thai]

Kanitkasen, V. March. “Limitation of the freedom of peaceful assembly in Germany and in Thailand.” Nitisart Journal. 40, no.1 (2011): 130-152. [In Thai]

Chaiyasan, V. People Politics : Development of participation in politics, participatory democracy and political pluralism. Bangkok: Mekkao, 2002. [in Thai]

Vatanapradit, V. “Freedom of peaceful assembly without arms.” Journal of Bandit Suksanitilart. 20, no.1 (2008): 341-352. [In Thai]

Chiangkul, V. “14 October movement.” Thammasat Journal. 19, no.2 (1993): 139-147. [In Thai]

Techanan, S. England politics system. Bangkok: OdianStore, 1986. [In Thai]

PreechaSilpakul, S. Freedom of peaceful assembly without arms. Bangkok: Constitution Court, 2014. [In Thai]

King Prajadhipok’s Institute. Building Reconciliation in Thailand. Bangkok : Kingprajadhipok’s Institute, 2013. [In Thai]

Promchom, S. “Freedom of peaceful assembly and international principle in terminating an assembly.” Chulniti Journal. 11, no.1 (2014): 165-177. [In Thai]

Jingjit, S. and Tantisoonthorn, T. Public assembly. Bangkok: Institute of Public Policy Studies, 2012. [In Thai]

The Secretariat of The House of Representative. "Right and liberty and duty of people in democracy." Last modified July, 2013. Accessed May 1, 2014. www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/article_
20130730155120.pdf. [In Thai]