ลำดับชั้นทางกฎหมายของประกาศคณะปฏิวัติ : วิเคราะห์ตามหลักนิติรัฐ

ผู้แต่ง

  • นนทชัย โมรา

บทคัดย่อ

ประกาศของคณะปฏิวัติ ที่มีค่าบังคับเท่าพระราชบัญญัติ ยังมีความขัดแย้งในทางวิชาการเป็นอย่างมากในสังคมปัจจุบันของประเทศไทยว่า “ประกาศคณะปฏิวัติเป็นแหล่งที่มาของกฎหมายระดับกฎหมายบัญญัติชอบด้วยกฎหมายหรือไม่” ซึ่งยังมีความเห็นอยู่ 2 แนวทาง คือ เป็นกฎหมาย กับไม่เป็นกฎหมายถือเป็น “โมฆะ” และเมื่อพิจารณาศึกษาถึงประกาศของคณะปฏิวัติที่ใช้บังคับในปัจจุบัน มีอยู่หลายสถานะหรือหลายลำดับชั้น บางฉบับมีสถานะเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ บางฉบับมีสถานะเทียบเท่ากฎหมายระดับกฎหมายบัญญัติ บางฉบับมีสถานะทางกฎหมายเป็นกฎหมายระดับกฎหมายลำดับรอง นั้นมีกระบวนการวิธียกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มประกาศของคณะปฏิวัติด้วยกฎหมายระดับใด ประเด็นปัญหาที่สำคัญตามรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว คือ ประกาศของคณะปฏิวัติที่มีสถานะทางกฎหมายเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ จะใช้กระบวนการยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกระทำโดยการตราพระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่ต่ำกว่ายกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่สูงกว่านั้นเหมาะสมหรือไม่เป็นการทำลายลำดับชั้นทางกฎหมายหรือไม่ ยังเป็นข้อถกเถียงกันวงวิชาการต่อไป

References

โกเมศ ขวัญเมืองและสิทธิกร ศักดิ์แสง (2549) “การศึกษาแนวใหม่ : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
กฎหมายทั่วไป” กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

จรัญ โฆษณานันท์ (2556) “นิติปรัชญา” กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง,พิมพ์ครั้งที่ 16.

จิรศักดิ์ รอดจันทร์ (2549)“กฎหมายภาษี : วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียตามระบบกฎหมาย
ของไทยและระบบกฎหมายของประเทศอังกฤษ” จุลสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ภาค 2/ 2549.

จุลกิจ รัตนมาศทิพย์ (2553) “ฎีกามหาชน : วาทกรรมว่าด้วยสังคม,กฎหมายและความยุติธรรมใน
ประเทศไทย เล่ม 4 ภาค 3 นิติวิธี” กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์ล้านคำ จำกัด.

ใน ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ (2536) “การแบ่งแยกอำนาจกับการตีความรัฐธรรมนูญ” วารสาร
กฎหมายปกครอง, สิงหาคม.

เดโช สวนานนท์ (2545) “พจนานุกร มศัพท์การเมือง :คู่มือการมีส่วนร่วมของพลเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตย” กรุงเทพฯ : บริษัทหน้าต่างสู่โลกกว้าง.

นรนิตติ เศรษฐบุตร (2547) บรรณาธิการ “สารนุกรมการเมืองไทย” กรุงเทพฯ : สำนักงาน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนาพาณิชย์ (2547) “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย” กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรีดี เกษมทรัพย์ (2531) “นิติปรัชญา” พระนคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พิมพ์ครั้งที่ 2.

ปัญญา อุชาชน (2554) “องค์กรตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่เหมาะสมกับ
ประเทศไทย” วารสารกระบวนการยุติธรรม เล่มที่ 1 ปีที่ 4 มกราคม – มีนาคม.

พรเลิศ สุทธิรักษ์และสิทธิกร ศักดิ์แสง (2552) “การมีส่วนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน :
กรณีศึกษาเปรียบเทียบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540กับ2550” รายงาวิจัยเสนอต่อมหาวิทยาลัยตาปี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2531) “เอกสารการสอนชุด วิชา กฎหมายมหาชน” หน่วยที่ 1-7
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ 10.

มูลนิธิวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง (2551) “ข้อพิจารณาเกี่ยว กฎ” กรุงเทพฯ :
มูลนิธิวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง.

วิษณุ เครืองาม (2530) “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” กรุงเทพ: นิติบรรณการ.

วิษณุ วรัญญู,ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์, เจตน์ สภาวรศีลพร (2551) “ตำรากฎหมายปกครองว่าด้วย
กฎหมายปกครองทั่วไป” กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.

สมยศ เชื้อไทย (2545) “คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่งทั่วไปหลักทั่วไป : ความรู้กฎหมายทั่วไป”
กรุงเทพฯ : วิญญูชน พิมพ์ครั้งที่ 8,2545

สมยศ เชื้อไทย (2554) “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” เอกสารประกอบการบรรยาย คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สิทธิกร ศักดิ์แสง (2550) “ศาลเป็นผู้สร้างหลักกฎหมายได้หรือไม่ในระบบกฎหมายของไทย”
วารสารข่าว กฎหมายใหม่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 83 พฤษภาคม.

สิทธิกร ศักดิ์แสง (2549) “ปัญหาผู้ตีความตามรัฐธรรมนูญ กรณีพระราชกฤษฎีกาเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” วารสารกฎหมายใหม่ วารสารกฎหมายรายเดือน ปีที่ 4 ฉบับที่ 73 กรกฎาคม.

สิทธิกร ศักดิ์แสง (2559) “การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญโดยศาลรัฐธรรมนูญ
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพื่อการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ในอนาคต” วารสารกระบวนการยุติธรรม ปีที่ ค เล่มที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม.

อุทัย ศุภนิตย์ (2525) “ประมวลศัพท์ในกฎหมายไทยในอดีตและปัจจุบัน เรียงตามตัวอักษร”
พระนคร: ประกายพรึก.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

11/20/2018