การประยุกต์เทคนิคการวิเคราะห์การสมนัย ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์

Main Article Content

ประสพชัย พสุนนท์
อาฟีฟี ลาเต๊ะ
เกตุวดี สมบูรณ์ทวี

Abstract

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอการวิเคราะห์การสมนัย (Correspondence Analysis: CA) เพื่อใช้ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเน้นหนักไปที่หลักการ แนวคิด วิธีการคำนวณ และโปรแกรมสำเร็จรูปที่ช่วยในการวิเคราะห์ เนื่องจากวิธีการ CA ถูกมองว่าเป็นสถิติขั้นสูงและยุ่งยากต่อการนำไปใช้ ดังนั้น บทความนี้จึงได้พยายามทำความเข้าใจถึงที่มาและวิธีการในการนำCA ไปประยุกต์ในงานทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการตีความข้อมูลในระดับนามบัญญัติ หรือตัวแปรเชิงกลุ่ม ซึ่งผู้วิจัยโดยทั่วไปนิยมใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์ ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร อย่างไรก็ตาม หากผู้วิจัยนำวิธีการ CA เข้ามาร่วมในการวิเคราะห์ด้วยแล้วจะทำให้ได้สารสนเทศที่น่าสนใจจากผลการวิจัยมากขึ้น

 

Correspondence Analysis Applied to Social Science Research

This paper aimed to demonstrate that correspondence analysis for social science research by focusing on the principles, concepts, computational method and how to perform CA using SPSS software. As correspondence analysis was seen as the advance statistic and complexity to use. Thus, this article provided the understanding of background and the method for correspondence analysis in order to apply for social science research. Especially for the nominal scale data interpretation or categorical variables which general researchers typically used Chi-square statistics technique to examine the relationship between variables However, correspondence analysis can be used as supplementary technique in the data analysis and to make the result more interesting and robustness.

Article Details

Section
บทความวิจัย