การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนาสังคม

Main Article Content

ธนพัทธ์ จันท์พิพัฒน์พงศ์

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอภาพกว้างเกี่ยวกับแนวทางการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์
ในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาสังคมโดยยกตัวอย่าง Head Start Project ที่เป็นโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่ใหญ่และยาวนานของสหรัฐอเมริกา และโครงการวิจัยแม่บทเกี่ยวกับการพัฒนาระบบพฤติกรรมของคนไทย

Article Details

บท
บทความ

References

จรรจา สุวรรณทัต. (2537). แนวคิดหลักทางพฤติกรรมศาสตร์: ทฤษฎี การวิจัย และการประยุกต์ใช้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 1(1) สิงหาคม, 17-21.

จารุณี แซ่ตั้ง, ดุษฎี โยเหลา, ลือชัย ศรีเงินยวง และสุรวุฒิ ปัดไธสง. (2559). ความโกรธในบริบทสถานควบคุม : มุมมองของคนใน. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 22(1) มกราคม, 87-108.

ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2551). การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทยและต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม).
………….. (2549). การวิจัยเพื่อการพัฒนา : หนทางสู่ความสำเร็จของนักพัฒนา. วารสารพัฒนาสังคม, 8(1), 1-40.
………….. (2549). ตำราขั้นสูงทางระเบียบวิธีวิทยาการวิจัย หลักและวิธีการประมวลเอกสารเพื่อความเป็นเลิศในการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท เอ.ที. พริ้นติ้ง จำกัด.

ดุษฎี โยเหลา. (2559). การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์: ปัจจุบันและอนาคต. พฤติกรรมศาสตร์ มุมมองในศาสตร์ที่แตกต่าง Behavioral Sciences From Diverse Perspective. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรจนพริ้นท์ติ้ง (สำนักงานใหญ่).

นริสรา พึ่งโพธิ์สภ. (2556). สิ่งที่ควรทำและสิ่งที่ไม่ควรทำในการพัฒนาเค้าโครงการวิจัยสำหรับนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 19(1) มกราคม, 1-22.

นันท์ชัตสัณห์ สกุลพงศ์. (2559). พลังสุขภาพจิตในผู้ติดยาเสพติดหญิง : การวิจัยแบบผสานวิธีพหุระยะเพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดและประสิทธิผลการปรึกษาทางจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการ. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ผกาวรรณ จันทร์เพิ่ม. (2548). ปัจจัยระดับหน่วยบริการปฐมภูมิและบุคลากรสาธารณสุขที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานเยี่ยมบ้านตามแนวทาการปฏิรูประบบบริการสุขภาพของสาธารณสุขเขต 4. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

แพรพิมพ์ สีลวานิช และวิชุดา กิจธรธรรม. (2559). ปัจจัยจิตลักษณะและสภาพแวดล้อมในงานที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานอย่างมีความรับผิดชอบของพนักงานปฏิบัติการเบื้องหลังสื่อธุรกิจบันเทิง. วารสารวิชาการคุณธรรมความดี, 5(1) กันยายน, 29-42.

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง, ดุษฎีโย เหลา, ปกรณ์ สิงห์สุริยา และนิยะดา จิตต์จรัส. (2555). ประสบการณ์ของครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 18(1) มกราคม, 55-65.

ยุทธนา ไชยจูกุล. (2559). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมศาสตร์. พฤติกรรมศาสตร์ มุมมองในศาสตร์ที่แตกต่าง Behavioral Sciences From Diverse Perspective. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรจนพริ้นท์ติ้ง (สำนักงานใหญ่).

ร่มตะวัน กาลพัฒน์, อังศินันท์ อินทรกำแหง และจรัล อุ่นฐิติวัฒน์. (2560). การศึกษาตัวแปรความผูกพันทางศาสนาและสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ของผู้รับบริการคลินิกวัยทอง ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 23(1), มกราคม, 187-204.

สินีนาถ เลิศไพรวัน และดุษฎี โยเหลา. (2559). ทำการศึกษาข้ามวัฒนธรรมไทย-ญี่ปุ่นเกี่ยวกับการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางการบรรจุภัณฑ์อาหาร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(2), สิงหาคม, 233-250.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2556). รางวัลผลงานด้านการวิจัยและการพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย ประจำปี 2555. ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

อังศินันท์ อินทรกำแหง และวรสรณ์ เนตรทิพย์. (2555). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านบุคคลและสภาพแวดล้อมในงานที่มีต่อพฤติกรรมบริการงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของบุคลากรทางการแพทย์. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 18(1) มกราคม, 33-46.

อังศินันท์ อินทรกำแหง, พิชชาดา สุทธิแป้น และวิชุดา กิจธรธรรม. (2560). การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับอาเซียนสำหรับบุคลากรภาครัฐในส่วนภูมิภาค. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 23(1) มกราคม, 87-104.

Early Childhood Learning & Knowledge Center (ECLKC). (2017). HEAD START. An Office of the Administration for Children and Families, U.S. Department of Health and Human Services Retrived 06/02/2017 from https://eclkc.ohs.acf.hhs.gov/hslc.

Konkaew, K. & Junprasert, T. (2016). Mobilization Models Contributing to Enhance Immunity for Disadvantaged Children in Social Change: A Case Study form A Non-Governmental Organization. Proceeding of International Conference on “Business, Economics, Social Sciences & Humanities” (BESSH-2016), Osaka, Japan.