วิเคราะห์โครงสร้างชื่อสถานที่ในภาษาไทลื้อ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิเคราะห์โครงประกอบสร้างหลักคำชื่อสถานที่ในภาษาไทยลื้อในประเทศลาวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยชื่อสถานที่ ในลาว ซึ่งผู้วิจัยได้ยกตัวอย่างของในการณีวิจัยใน 5 จังหวัดภาคเหนือของประเทศลาว เซ่น จังหวัดผ้งสาลี หลวงน้ำทา บ่อแก้ว อุดมไชย หลวงพระบาง และ ไชยะบุรีที่มีกลุ่มชนเผ่าไทลื้ออาศัยอยู่ ในที่นี้ผู้วิจัยได้เลือกเอาชื่อสถานที่ทั้งหมด 1600 กว่าชื่อ นำมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โครงประกอบสร้างของคำมูลในส่วนชื่อของสถานที่ในภาษาไทลื้อ การวิเคราะห์ตัวจึงพบว่า คำมูลที่เป็นองค์ประกอบของชื่อสถานที่ในภาษาไทลื้อประกอบมีคำมูลหนึ่งคำ สองคำ สามคํา และ สี่คำ ในด้านความหมายของชื่อสถานที่ในภาษาไทลื้อส่วนมากก็จะเห็นว่ามีความสัมพันธ์กับต้นไม้ พืช สัตว์ อาชีพ เหมืองแร่ ต้นน้ำ เหล่านี้ เป็นต้น ที่นำมาเป็นคำหลักจากนั้นก็จะมีคำอื่นเข้ามาขยายความซึ่งในนั้นก็มีคำที่หนึ่งคำที่ 2 ทำหน้าที่เป็นคำหลักส่วนคำอื่นก็จะพิจารณาเป็นคำขยายทั้งหมด ในส่วนโครงสร้างของประเภทคำใช้สถานที่ในภาษาไทยลื้อ ผ่านการวิเคราะห์ พบว่า ชื่อสถานที่ในภาษาไทยลื้อประกอบมีคำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำที่เป็นตัวเลข นอกนั้นก็จะเป็นคำที่นำมาผสมกันระหว่างประเภทของคำเช่นคำนามประสมกับคำนามคำสรรพนามผสมกับคำกริยาเป็นต้น
Article Details
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
Duan Jingde. (1989). “An Inquiry Into Place Names in Dai”.Yunnan Kunming Publishing House.
Fu Yuji. (1951). The Phonological System of the Dai Language as is Found Yun Jinhong, Xishuangbana Prefecture,Yunnan Province. Chinese Academy of Social Sciences Publishing House.
Laungnamtha Province’s. Lao Front for National Construction (LFND) was established on 13th August 1950.
Until now (13 August 2015), the LFNC still exists and has been developing for 3 history eras.
Lao Front for National Construction (LFNC). (2008). “49 Ethnic Group of Laos”. Vientiane Pressding.
National Statistical Office of Laos. (2015). National Names Electronic Information. Vientiane Pressding.
Residences of of Lana . (2016). Thailue in Lanna,Thailand. Thailand: Center for Ethnic Studies, Chiang Mai University,
Zhang Gongjin. (1968). Dai Culture. Jilin Educational Press.
________. (1988). Dai Cultural Research. Yunnan Nationalities Publishing House.
Zheng Peng, & Yang Shengneng. (1996). A Record of Xishuangbana’s Graceful and Unusual Charm. Yunnan Nationalities Publishing House.
Zhou Jianxin. (2002). Research on Cross-border Minorities and Other People Groups on the Sino-Vietnamese and Sino-Laotian Borders. Nationalities Publishing House.