MEKONG WATER MANAGEMENT IN THAILAND ON CONFLICT IMPACTS OF CHINA'S DAM: A CASE STUDY IN MUKDAHAN PROVINCE

Authors

  • นิยารินทร์ สกุลภัทร์เตชิน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

Keywords:

การจัดการ, ประสิทธิภาพ, ผู้นำ, องค์การ, ความขัดแย้ง

Abstract

จากการศึกษา การบริหารจัดการจ้ำตามลำน้ำโขงของไทยบนความขัดแย้งจากผลกระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัญหาในการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงของไทยบนความขัดแย้งผลผลกระทบจากการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงของไทยบนความขัดแย้งจากผลกระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงบนความขัดแย้งจากผลกระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร โดยใช้ วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้ให้ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ (Interview) จำนวน 10 คน ประกอบด้วย 1) อธิบดีกรมทรัพยากรน้ำ 2) ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร 3) ผู้อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมุกดาหาร 4) ผู้บังคับการหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำน้ำโขงงจังหวัดมุกดาหาร 5) นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาโป และ 6) ตัวแทนประชาชนผู้มีอาชีพหรือเกี่ยวข้องกับลำน้ำโขง จำนวน 5 คน

              ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาในการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงของไทยบนความขัดแย้งจากผล กระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร พบว่า มีปัญหาดังนี้ 1.1) พันธุ์ปลาในแม่น้ำโขงลดลง  1.2) การขึ้นลงของน้ำโขงผิดปกติ 1.3) ตลิ่งพัง 1.4) การปลูกผักริมฝั่งโขงไม่สามารถดำเนินการได้ 1.5) การสูบน้ำด้วยไฟฟ้าในหน้าแล้งต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 1.6) การเลี้ยงปลาในกระชังลดลง 1.7) การหาปลาได้น้อยลง 1.8) การขนส่งยาเสพติดง่ายขึ้น 1.9) ประชาชนหันไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข และ 1.10) ขนบ-ธรรมเนียมประเพณีของชุมชนบางอย่างเปลี่ยนแปลงไป  2) แนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงของไทยบนความขัดแย้งจากผลกระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร  พบว่า มีแนวทางดังนี้ 2.1  ควรมีการเพาะเลี้ยงปลาในแม่น้ำโขงที่อาจจะสูญพันธุ์เพื่อรักษาพันธุ์ปลาและขยายพันธุ์ปลา  2.2) ควรประสานกับจังหวัดเชียงรายเพื่อประชาสัมพันธ์การขึ้นลงผิดปกติของน้ำโขงให้ประชาชนทราบทางสื่ออย่างหลากหลาย 2.3) ควรมีการสำรวจสถานที่ที่ตลิ่งจะพังและจัดหางบประมาณมาสร้างเขื่อนกั้นตลิ่ง 2.4) ควรส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชชนิดใหม่ที่ใช้น้ำน้อย 2.5) ควรกำหนดพื้นที่การเพาะปลูก และลดการทำนาปรัง 2.6) ควรส่งเสริมให้เลี้ยงปลาในกระชังชนิดใหม่ที่ไม่น็อคน้ำ 2.7) ควรเปลี่ยนจากการทำประมงเพื่อการค้ามาเป็นการทำประมงเพื่อการท่องเที่ยว 2.8) มีการรณรงค์ด้านยาเสพติดอย่างจริงจังและยั่งยืน ภายใต้คำขวัญ “คนที่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดไม่ให้อยู่เมืองมุกดาหาร” 2.9) รัฐควรหาอาชีพมาส่งเสริมประชาชนให้มีรายได้ และ 2.10) ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมประเพณีให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำโขง  และ 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงบนความขัดแย้งจากผลกระทบการสร้างเขื่อนของจีน กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร พบข้อเสนอแนะสำหรับรัฐบาลไทยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนี้ 3.1) ควรเปิดการเจรจากับรัฐบาลจีนเพื่อชี้แจงให้ทราบถึงผลกระทบจากการสร้างเขื่อนของจีน และขอความร่วมมือจีนในการแจ้งให้ไทยทราบถึงวันเวลาปิด-เปิดเขื่อน  3.2) ควรปรึกษาหารือกับประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนของจีนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน 3.3) ควรเจรจากับรัฐบาลลาวเพื่อร่วมสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงร่วมกัน 3.4) จังหวัดมุกดาหารควรปรับเปลี่ยนการทำการเกษตรที่อาศัยน้ำจากลำน้ำโขงมาเป็นการทำการเกษตรที่ใช้น้ำน้อย  และ 3.5) จังหวัดมุกดาหารควรปรับเปลี่ยนมาเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสตร์ 

References

กระทรวงต่างประเทศ. (2555). โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. เข้าถึงได้จาก https://www.mfa.go.th/main/th/world/7/25327-โครงการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคล่ม.html. เข้าถึงเมื่อ 21 มีนาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555). กระทู้ถามด่วน เรื่อง การตรวจสอบผลกระทบและประสานความร่วมมือกับประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงอย่างเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาระดับน้ำในแม่น้ำโขงลดลงผิดปกติ. เข้าถึงได้จาก http : //dl.parliament.go.th/handle/lirt/72428. เข้าถึงเมื่อ 21 มีนาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555). กระทู้ถาม นายกรัฐมนตรี เรื่อง ปัญหาผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการสร้าง
เขื่อนบนแม่น้ำโขง. เข้าถึงได้จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/60455. เข้าถึงเมื่อ 21 มีนาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555). กระทู้ถาม เรื่อง ปัญหาผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการสร้างเขื่อนบนแม่น้ำโขง
ผิดปกติ. เข้าถึงได้จาก https://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/71844/ 000000000103332.pdf?sequence=1. เข้าถึงเมื่อ 21 มีนาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555). ขอเสนอญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้ง คณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาศึกษาวิกฤตการณ์แม่น้ำโขงแห้งขอด.สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.เข้าถึงได้จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/19828. เข้าถึงเมื่อ 21 มีนาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555). ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา
วิกฤติการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำโขงลดต่ำลง. เข้าถึงได้จาก http : //dl.parliament.go.th/ handle/lirt/141205. เข้าถึงเมื่อ 22 มีนาคม 2561.

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2555). กฟผ. เซ็น MOU ซื้อไฟฟ้าจากจีน. เข้าถึงได้จาก http : //www. moneychannel.co.th/Menu6/NewsUpdate/tabid/89/newsid491/17668/ Default.aspx. เข้าถึงเมื่อ 22 มีนาคม 2561.

กอบกุล รายะนาคร. (2541). กฎหมายกับการจัดการทรัพยากรในลุ่มน้ำโขง ในโครงการศึกษาการจัดการทรัพยากรในลุ่มน้าโขงไทย-ยูนาน : ภาคเหนือตอนบน. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยร่วมกับ ศูนย์เศรษฐกิจและเทคโนโลยีมณฑลยูนาน.

กัมปนาท ภักดีกุล และชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2549). เขื่อน-ถนน : การพัฒนา และโลกาภิวัฒน์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราทางสังคมศาสตร์.

เขียน ธีระวิทย์. (2549). ความร่วมมือไทย-จีนด้านการพัฒนาแถบลุ่มแม่น้ำโขงในจีนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มติชน.

เครือข่ายแม่นํ้าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. (2549). คำให้การของคนท้ายน้ำ .กรุงเทพฯ : วนิดา เพรส.

จันตรี สินศุภฤกษ์. (2547). กฎหมายระหว่างประเทศกับการเมืองระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2511). กฎหมายระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัมปนาท ภักดีกุล (บรรณาธิการ). (2551). สาละวิน แม่โขง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และอัครพงษ์ คํ่าคูณ (บรรณาธิการ). (2549). แม่น้าโขง : จากต้าจู ล้านช้าง ตนเลธม ถึงกิ๋วล่อง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ผลกระทบของการสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขง. เข้าถึงได้จาก https://board.lru.ac.th/index.php? topic=453.0. เข้าถึงเมื่อ 22 มีนาคม 2561.

ผกาวรรณ จุฟ้ามณี. (2547). ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มน้าโขงอย่างยั่งยืน.กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรนํ้า.

พรพิมล ตรีโชติ และคณะ. (2541). รายงานการวิจัย เรื่อง สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ : ความเป็นจริงและ ผลกระทบ. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา.

พันธกานต์ อินต๊ะมูล และคณะ. (2555). “เขื่อนแม่น้ำโขง” ยักษ์ร้ายในคราบตัวตลก. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พีระพจน์ รัตนมาลี. (2549). เขื่อนกับแม่โขง : ทางเลือกและทางรอด. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราทางสังคมศาสตร์.

มูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ. (2560). เขื่อนบนแม่น้ำโขงสายหลักตอนล่าง. เข้าถึงได้จาก https://www.terraper.org/web/th/key-issues/lowwer-mekhomg-mainstream-and tributary-dams. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2560.

รจนา คําดีเกิด. (2554). การศึกษาความตื่นตัวด้านสิทธิชมชนในการบริหารจัดการและปกป้องทรัพยากร ธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนลุ่มนำโขง จังหวัดอุบลราชธานี จากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนบ้านกุ่ม . วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.
กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

รจนา คําดีเกิด. (2555). รายงานการศึกษาปัญหาวิกฤตการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำโขงลดต่ำลง. เข้าถึงได้จาก http
: //dl.parliament.go.th/handle/lirt/77941. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2560.

วรรณพร ความสุข. (2548). ผลกระทบของการสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะการไหลของน้ำท่าในแม่น้ำโขงตอนล่าง. วิทยานิพนธ์วนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วทัญญู ใจบริสุทธิ์. (2553). ทฤษฎีอธิปไตยเหนือดินแดนอันจำกัด (Theory of Restricted Territorial Sovereignty) กับปัญหาข้ามพรมแดนสมัยใหม่ ในกรณีโครงการเขื่อนบนแม่น้าโขงของจีน. International Journal of East Asian Studies. 15(2), 51-71.

วิลาวัลย์ สุทธิวาทนฤพุฒิ. (2541). ความรับผิดต่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำของรัฐริมฝั่งบริเวณแม่น้ำโขงตอนล่าง : ศึกษากรณีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่. กรุงเทพฯ :

ศุภานัน ธรรมขันธ์ และคณะ. (2556). Transcript of ผลกระทบจากการพัฒนาในลุ่มแม่น้ำโขงผลกระทบจากการพัฒนาในลุ่มแม่น้ำโขง. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมพงศ์ ชูมาก. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคปัจจุบัน : ทศวรรษ 2533 สู่ทศวรรษแรกแห่งศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมพงศ์ ชูมาก. (2548). กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมเกียรติ อริยปรัชญา และคณะ. (2555). การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของเขื่อนกั้นแม่นํ้าโขงในประเทศจีนต่อจังหวัดเชียงรายและจังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต.

สุทิน สายสงวน. (2551). ความสัมพันธ์ทางการค้าไทย-จีนและญี่ปุ่น. วารสารญี่ปุ่นศึกษา. 25(1). เมษายน-กันยายน 2551.

อาคม. (3 เมษายน 2550). เขื่อนแม่น้ำโขง การยึดครองผลประโยชน์เบ็ดเสร็จของจีน. เข้าถึงได้จาก https://oknation.nationtv.tv/blog/akom/2007/04/03/entry-1.

อัครพงษ์ คํ่าคูณ. (2549). ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง The Mekong delta : แผ่นดิน ผืนน้ำ ผู้คน ประวัติศาสตร์ และ ทรัพยากร.กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

อภิญา วิทยานุกรณ์. (2553). ผลกระทบทางสังคมจากเขื่อนแม่น้ำโขงตอนบนในประเทศจีน พื้นที่อำเภอเชียงแสนและอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Antaseeda, Poona. (2545). “Upstream Power Play”. Bangkok Post Perspective, 22 December.

Appendix 1 :Letter to the Chinese Government and Appendix 2 : Third Complaint to the Chinese Government. In Two important Lessons from Mekong Mainstream Dams in China.

Bangkok Biz. (2555). จีนเชิญ 4 ชาติตรวจสอบเขื่อนแม่น้ำโขง. 10 เมษายน. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/2553/03/10/news_30485643.php?news_id=304856438. เข้าถึงเมื่อ 22 มีนาคม 2561.

Burton J. (1972). World Society. Cambridge : Cambridge University Press.

China Launches Mekong River Flood Control Training, China Daily. Accessed May 19, 2561. https://www.chinadaily.com.cn/china/2553-06/20/content_9993260.htm.

China Starts Oil Shipping via the Mekong River, Xinhua, 28 December 2549. Accessed April 11, 2561. https://news.xinhuanet.com/english/2549-12/28/content_5543924. htm.

China, Thailand join forces on Yunnan power projects. Xinhua, July 17, 2547 . Accessed May 23, 2561. https://news.xinhuanet.com/english/2547-7/17/content_1608208.htm.

China to Build Huge Power Station on Lancang-Mekong River, Xinhua. Accessed 11 January 2561. https://news.xinhuanet.com/english/2545-01/20/content_245443.htm.

Chung Chien-peng.“The “Good Neighbour Policy” in the Context of China’s Foreign Relations.” China :An International Journal 7 : 1 (March 2552) : 107-123.

David B. Dewitt. (2536).“Introduction : The new Global Order and the Challenges of international Security” in David Dewitt, David Haglund, and John Kirton, (editors). Building a New Global Order. Oxford : Oxford University Press.

Dore, John et al. (2550). “China’s Energy Reforms and Hydropower Expansion in Yunnan.” InDemocratizing Water Governance in the Mekong Region, eds. LouisLebel, JohnDore, Rajesh Daniel and Yang SaingKoma, 58. Chiang Mai : Mekong Press.

Energy Policy and Planning Office, Ministry of Energy, Royal of Thai Government. “Thailand’s Petroleum Products Trading with South China” Accessed April 29, 2561. https://www.eppo.go.th/vrs/VRS47-01-ChinaPetro.html.

Events. Foundation for Ecological Recovery. Accessed March 22, 2555. https://www. terraper.org/events_view.php?id=3.

Full text of Premier Wen's speech at 2nd GMS Summit. People’s Daily, 5 July 2548. Accessed June 14, 2555.

Gearoid O Tuathail, Simon Dalby and Paul Routledge. (2549). The Geopolitics Reader. Oxon : Routledge.

GMS Caravan, GMS Caravan . Accessed January 25, 2555.http : //gmscaravan.multiply. com/.
Greater Mekong Sub-region will become a new growth pole in Asia Pacific. Free Paper, 20May 2554. Accessed July 12, 2555.http : //www.f-paper.com/?i279689-Greater-Mekong-Sub-region-will-become- a-new-growth-pole-in-Asia-Pacific.

Greater Mekong Sub-region Economic Cooperation Program Fifth Meeting of the Sub-regional Investment. ADB (Minutes of Proceedings from the Working Group in Phnom Penh, Cambodia, 13-14 October 2548). Accessed July 12, 2561. https://www.adb.org/gms/SIWG-5.pdf.

GLosny, Michael A.“Stabilizing the Backyard : Recent Developments in China’s Policy Toward Southeast Asia.” In China and the Developing World :Beijing’s Strategy for the Twenty-first Century, eds., Joshua Eisenman, Eric Heginbotham and Derek Mitchell.New York : M.E.Sharpe, 2550.

Goh, Evelyn.Developing the Mekong :Regionalism and Regional Security in China-Southeast Asian Relations (Adelphi Series 387) .1st ed.UK : Routledge, 2550.

He Shengda and Sheng Lijun. (2548). “Yunnan’s Greater Mekong Sub-Region Strategy” in ASEAN China Relations : Realities and Prospects, eds., Saw Swee-Hock, Sheng Lijun and Chin Kin Wah.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies.

Isan Fair. (2555). จีนยอมเปิดเขื่อนน้ำโขงสูงขึ้น 10% รับข้อเสนอไทยตั้งเวทีแก้วิกฤติ. เข้าถึงได้จาก https://www.isanfair.com/ViewSubject.php?did=86&sid=27. เข้าถึงเมื่อ 22 มีนาคม 2561.

Joseph S. Nye. (2550). Understanding International Conflicts, 6th ed. London : Longman.

Lauterpacht. (1955). Oppenheim’s International law. 8th ed. London : Longman.

Lawler, Jill. (2549). The Interaction between The Mekong River Commission and China :An Analysis of Hydropolitical Dynamics on Cooperation. Master Thesis, Chulalongkorn University.

Lin Teh-Chang.“Environmental NGOs and the Anti-Dam Movements in China : A Social Movement with Chinese Characteristics, ” Issues & Studies, 43 : 4 (December 2550) : 149-184.

Mekong Community Media Project, Mekong-Lanna Natural Resources and Culture Conservation Network. Chiang Rai :Parbpim, July 2553.

Mymekong.org. เม.ย. 10, 2015. เขื่อนแม่น้ำโขงในจีน. https://www.mymekong.org/mymekong/ ?p=585

Nguyen Phuong Binh. (2549).“Geopolitics and Development Cooperation in the Mekong Region.” In The Mekong Arranged & Rearranged, eds. Maria Serena I.Diokno and Nguyen Van Chinh.Chiang Mai : Mekong Press.

Nye, J. S. Jr. (2550). Understanding International Conflicts. 6th ed. London : Longman.

Osborne, Milton. (2547). River at Risk :The Mekong and The Water Politics of China and Southeast Asia. New South Wales : Longueville Media.

Save KohSurin. (2555). จีนดันทุรันขอระเบิดแก่งคอนผีหลง. เข้าถึงได้จาก https://www. savekohsurin.com/webboard/topic.php?topicid=63. Southeast Asia Rivers Network. Mekong : Rapids under
Fire.2nded. Chiang Mai : Southeast Asia Rivers Network. December 2546.

Stoett, Peter. (2548). “Mekong River Politics and Environmental Security.” In Confronting Environmental Change in East & Southeast Asia :Eco-Politics, Foreign Policy and Sustainable Development, ed. Paul G Harris, 182. London : Earthscan.

System Planning Division, Electricity Generating Authority of Thailand. (2553). Thailand Power Development Plan 2553-2030 (PDP 2553). Accessed June 2, 2561. https://www.scribd.com/doc/36097570/Thailand-Power-Development-Plan-PDP.

Tan, Sunny. (2555). “China’s Mekong Diplomatic Offensive.” New Asia Republic. 24 July 2553 . Accessed May 12, 2555. http : //newasiarepublic.com/.?p=19759.

Thailand Power Development Plan 2553-2030 (PDP 2553). Electricity Generating Authority of Thailand. Accessed April 15, 2561. http : //www.scribd.com/ doc/36097570/Thailand-Power-Development-Plan-PDP.

Thai Publica. (5 เมษายน 2557). ภัยคุกคามระบบนิเวศแม่น้ำโขง ผลกระทบจากโครงการเขื่อนตอนบนในประเทศจีน. เข้าถึงได้จาก https://thaipublica.org/2014/04/threats-to-rivers/เมื่อ 20 ตุลาคม 2560.

Thai Publica. (3 ตุลาคม 2555). การสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง (3): โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ เปลี่ยนแม่น้ำโขง ไม่เหมือนเดิมอีกแล้ว. เข้าถึงได้จากhttps://thaipublica.org/2012/10/dam-on-the-mekong-river-3/https://thaipublica.org/2014/04/threats-to-rivers/เมื่อ 20 ตุลาคม 2560.

The People’s Republic of China in the Greater Mekong Subregion. Asian Development Bank (ADB) . Accessed July 10, 2561. http : //www.adb.org/GMS/Publications/ PRCin-the-GMS.pdf.

UNDP.“Chapter 2 : New Dimensions of Human Security.” In Human Development Report 2537. Accessed June 18, 2561. http : //hdr.undp.org/en/media/hdr_2537_en_ chap2.pdf

Work Starts on Lancang River Power Station, Xinhua. January 21, 2545 . Accessed July 23, 2561. http : //news.xinhuanet.com/english/2545-01/21/ content_246158.htm.

Vital David. (1972). The inequality of states. Oxford : Clarendon Press.

Downloads

Published

2019-06-23

Issue

Section

Research Articles