ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
ประกันคุณภาพ , การประกันคุณภาพภายใน , การบริหารแบบมีส่วนร่วมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา และ3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 354 คน ได้มาจากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ เครจซีและมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดสถานศึกษา จากประชากรครูจำนวน 4,426 คน สถานศึกษาจำนวน 116 แห่ง ในปีการศึกษา2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบปลายเปิด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.969 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
- การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน โรงเรียนในระบบ สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับมาก
- การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน โรงเรียนในระบบ สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับมาก
- ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามความเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน โรงเรียนในระบบ สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา โดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 และมีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูง (rxy =.673)
References
กฏกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561. (23 กุมภาพันธ์ 2561). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 11 ก หน้า 1-5.
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. (2 เมษายน 2553. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 127 ตอนที่ 23 ก หน้า 22-35.
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546. (1 สิงหาคม 2546). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 120 ตอนที่ 74 ก หน้า 3-7.
กมล ภู่ประเสริฐ. (2544). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิปส์: พับบลิเคชั่น.
กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2553). คู่มือปฏิบัติงานกระบวนการบริหารจัดการมีส่วนร่วมของประชาชน สำนักประชาสัมพันธ์เขต 2. อุบลราชธานี: สำนักประชาสัมพันธ์ เขต 2.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). นโยบายและการแนะแนวการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:ผู้แต่ง.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 4)พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา. (2564). ข้อมูลและสถิติครูและจำนวนสถานศึกษาโรงเรียนเอกชนในสังกัด. นครราชสีมา: ผู้แต่ง.
จินตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจริญ ราชโสภา. (2554). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เดือนเพ็ญ ยลไชย. (2562). การบริหารแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ถวิล เกษสุพรรณ์. (2552). การศึกษาสภาพการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบล เขต 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). อุบลราชธานี: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ธร สุนทรายุทธ. (2552). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูป: ทฤษฏี วิจัย และปฏิบัติทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:เนติกุลการพิมพ์.
ปฏิพล จำลอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ประเสริฐศักดิ์ เหินไธสง. (2559). การพัฒนาระบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้สำหรับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปานดวงใจ แฮนเกตุ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมของครูกับประสิทธิผลงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ภัควิภา ลูกเงาะ. (2562). สภาพและแนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บุรีรัมย์:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ภาณพ แจ้งพลอย. (2556). การศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกาประถมศึกษาจันทบุรี (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จันทบุรี: มหาวิทยาราชภัฏรำไพพรรณี.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมประชาชน: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ. กรุงเทพฯ: บริษัท บุ๊คพอยท์ จำกัด. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
วารุณี บำรุงสวัสดิ์, วาโร เพ็งสวัสดิ์, และศิริดา บุรชาติ. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในจังหวัดนครพนม. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 1(2), 39-46.
วีระศักดิ์ วงศ์อินทร์. (2557). ศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูผู้สอนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.
ศิริชัย กาญจนวาสี, และคณะ. (2553). การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โศภิดา คล้ายหนองสรวง, และสุเมธ งามกนก. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต3. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2), 135-146.
สุคิด ขันธะหัตถ์. (2561). สภาพการบริหารการประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สุธรรม ตรีวิเศษ. (2562). สภาพการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สุนันท์ ถึงสุข, ศักดา สถาพรวจนา, และ เนติ เฉลยวาเรศ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 93-99.
อรุณี ศิริสุขไพบูลย์. (2558). การศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาบูรพา.
Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1980). Rural Development Participation: Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. New York: Cornell University
Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1997). Rural Development Participation: Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. New York: Cornell University.
Krejcie, R. V., & Morgan D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Education March and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Shadid, W., et al. (1982). Access and Participation: A Theoretical Approach in Participation of the Poor the Development. Leiden: University of Leiden.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว