กการจัดการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการดำรงมีชีวิตอย่างปกติสุขสำหรับบุคคล ในยุคศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • มนูญพงษ์ ชัยพันธุ์ อาจารย์ประจำ, หลักสูตรสาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
  • ลารัตน์ สังเกต ครูโรงเรียนบ้านบ่อไทย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3
  • มานิตย์ ชัยพันธุ์ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การพัฒนาทักษะชีวิต, การดำรงชีวิตอย่างปกติสุข, ยุคศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

บทความเชิงวิชาการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอแนวทางและกิจกรรมในการพัฒนาทักษะชีวิต (Life Skill) ของบุคคลทุกเพศ ทุกวัยและทุกสาขาอาชีพ ในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งพบว่า แนวทางในการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อให้บุคคลมีศักยภาพในการดำเนินชีวิตอย่างปกติสุข ท่ามกลางความผันผวนทางสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 คือ 1) ต้องพัฒนาด้วยกิจกรรมที่เน้นการทำงานร่วมกันของบุคคลเพื่อให้บุคคลได้มีกระบวนการในการร่วมคิด ร่วมทำและร่วมภาคภูมิใจในผลงานของกลุ่มซึ่งจะนำไปสู่ความภูมิใจในตนเองตามมา 2) ต้องพัฒนากิจกรรมที่เน้นการพัฒนากระบวรการคิดและแก้ปัญหาที่ซับซ้อนซึ่งต้องใช้ทักษะการคิดขั้นสูง เช่น กิจกรรมการแก้ปัญหาสังคมหรือชุมชน กิจกรรมการพัฒนาและสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมรณรงเพื่อความสุขในสังคม เป็นต้น และ 3) ต้องพัฒนาด้วยกิจกรรมที่เน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้าเกี่ยวข้องในการปฏิบัติกิจกรรม เช่น กิจกรรมศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่อยู่ในรูปข้อมูลสารสนเทศในระบบออนไลน์ กิจกรรมการคิดคำนวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป และกิจกรรมที่เน้นการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยแบบต่างๆ เป็นต้น

References

ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2565). การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เพื่อความสุขในการทำงาน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นภัทร สิทธาโนมัย. (2566). 21st Century Skills ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://smart-icamp.com/2021/07/06/21st-century-skills.

นำโชค อุ่นเวียง. (2566). โลกในศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34764.

ธีร์ ทิพกฤต และคณะ. (2555). 6 คำถามสร้างทักษะชีวิต: ประสบการณ์สำหรับครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: จูนลาย มอร์นิ่ง

ประเสริฐ ตันสกุล และคณะ. (2558). ยุทธศาสตร์ทักษะชีวิตเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพเยาวชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ.

พระณัฐวุฒิ พันทะลี. (2563). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการพระพุทธศาสนาเขตลุ่มแม่น้ำโขง. 3(1, กรกฎาคม-ธันวาคม 2563)

พัทฐรินทร์ โลหา. (2562). ศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/659944.

ไพรินทร์ สระแก้ว. (2565). ทักษะชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

ยืน ภู่วรรณ. (2567). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://cubiccreative.org/21st-century-skill/.

ยุุตติชน บุุญเพศ. (2566). รููปแบบการส่งเสริมทักษะชีวิตในโรงเรียนประถมศึกษาของพื้นที่่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 19(2, พฤษภาคม – สิงหาคม 2566).

โรงเรียนนานาชาติบางนา. (2565). การเรียนรู้ Life Skills “ทักษะชีวิต” สำคัญ และจำเป็นสำหรับลูกของเรา.สืบค้นจาก https://www.dprep.ac.th/th/life-skills-framework/

วลัยลักษณ์ คงพระจันทร์. (2565). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: อยู่รอดแม้จุดยืนมนุษย์สั่นคลอน ในโลกดิจิทัลที่ไม่ย้อนกลับหลัง. สืบค้นจาก https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/21st-centuryskills.html.

สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2561). ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(The Twenty-First Century Skills). สืบค้นจาก https://www.trueplookpanya.com/education/content/66054/-teaartedu-teaart-teaarttea-

โสภา ก๊กบางยางและคณะ. (2565). ทักษะชีวิตร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). แนวทางการพัฒนาทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติิ.

Botvin, Gilbert J. (2006). Life Skills Training: Promoting Health and Personal Development. New York: Princeton Health Press.

World Economic Forum. (2023). The World Economic Forum’s Future of Jobs 2023. Retrieved from https://www.wearecp.com/world-economic-forum-2023/.

World Health Organization. (1994). Life Skill Education in School. Geneva: World Health Organization.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26