การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการของงานกับทรัพยากรในงาน และความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน โดยมีการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การเป็นตัวแปรกำกับ
คำสำคัญ:
การรับรู้ความสามารถของตนเอง, ความต้องการของงานกับทรัพยากรในงาน, การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ, ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการของงานกับทรัพยากรในงาน และความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน โดยมีการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การเป็นตัวแปรกำกับ : กรณีศึกษาครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูที่ทำการสอนโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 180 คน การวิจัยสามารถสรุปผลได้ดังนี้
1. ผลการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
1.1 การรับรู้ความสามารถของตนเองโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเหนื่อยหน่ายในการทำงานโดยรวม (r = -.663 , p < 0.01)
1.2 ความต้องการของงานกับทรัพยากรในงานโดยรวมมีความสัมพันธ์กับความเหนื่อยหน่ายในการทำงานโดยรวม (r = -.458 , p < 0.01)
2. ผลการทดสอบความเป็นตัวแปรกำกับของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ
2.1 การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การโดยรวมเป็นตัวแปรกำกับการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การเป็นตัวแปรความสัมพันธ์กำกับระหว่างความต้องการของงานโดยรวมและความเหนื่อยหน่ายในการทำงานโดยรวม (B = .463 , t = 2.572 , p < 0.05)
2.2 การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การโดยรวมเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรในงานโดยรวมและความเหนื่อยหน่ายในการทำงานโดยรวม (B = -.271 , t = -3.253 , p < 0.01)
References
ชัยยุทธ กลีบบัว. (2552). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน: การประยุกต์โมเดลความต้องการ-ทรัพยากรของงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะจิตวิทยา, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
ตุลยา เหรียญทอง. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และความเครียดในการทำงาน : กรณีศึกษาพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสำนักงานใหญ่ส่วนกลาง. งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
ธิดา เขื่อนแก้ว. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานระดับปฏิบัติการ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่ง. งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
นวลพรรณ ชื่นประโยชน์. (2554). ความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ความผูกพันในงานและความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรค ต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานสินค้าเกษตรส่งออก.งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
เนาวรัตน์ อิ่มใจ. (2556). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค การสนับสนุนทางสังคมและความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน: กรณีศึกษาบุคลากรสังกัดบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง. งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
พีรยา เชาวลิตวงศ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน : กรณีศึกษาพนักงานฝ่ายช่างสายการบินแห่งหนึ่ง. งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
สุวภา สังข์ทอง. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเผชิญความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน กรณีศึกษา : หน่วยงานราชการแห่งหนึ่งในสังกัดกรุงเทพมหานคร. งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
สุวิมล นันทปรีชาวงศ์. (2552). บุคลิกภาพตามแนวทฤษฎีเชาวน์จิตอัจฉริยะ รูปแบบตามอารมณ์ตามงาน ความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ที่มีผลต่อความพึงพอใจในการทำงาน และพฤติกรรมการให้บริการของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
Bakker, A. B., Demerouti, E., & Euwema, M.C. (2005). Job resources buffer the impact of job Demands on burnout. Journal of Occupational Health Psychology, 10, 170-180.
Christian Korunka, Bettina Kubicek, Wilmar Schaufeli & Peter Hoonakker. (2009). Work engagement and burnout: Testing the robustness of the Job Demands-Resources model. The Journal of Positive Psychology. 4(3). 243-255.
Evangelia Demerouti, Arnold Bakker, Friedhelm Nachreiner & Wilmar B. Schaufeli. (2001). The Job Demands-Resource Model of Burnout. Journal of Applied Psychology. 86(3). 499-512.
Jari J. Hakanena, Wilmar B. Schaufelib & Kirsi Ahola. (2008). The Job Demands-Resources model: A three-year cross-lagged study of burnout, depression, commitment, & work engagement. Work & Stress, 22, 224-241.
Karin Proost, Peter Verboon & Joris van Ruysseveldt. (2015). Organizational justice as buffer against stressful job Demands. Journal of Managerial Psychology, 30, 487 – 499.
Labone E. (2002). The Role of teacher efficacy in the development & prevention of teacher burnout. Paper Presented at the Annual Meeting of the Australian Association for Research in Education, 1-5
Liljegren M & Ekberg K. (2009). The associations between perceived distributive, procedural, and interactional organizational justice, self-rated health and burnout. (From: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19597284)
Mona Tabatabaee Yazdi, Khalil Motallebzadeh, Hamid Ashraf. (2014). The Role of Teacher's Self-efficacy as a Predictor of Iranian EFL Teacher's Burnout. Academy Publisher Manufactured in Finland.5(5).1198-1204. (From : http://www.academypublication.com/issues/past/jltr/vol05/05/28.pdf)
Nahrgang, Jennifer D., Morgeson, Frederick P. & Hofmann, David A. (2011). Safety at work: A meta-analytic investigation of the link between job demands, job resources, burnout, engagement, and safety outcomes. Journal of Applied Psychology. 96(1). 71-94.
Najaf Aghaei, Keivan Moshiri & Shahnaz Shahrbanian. (2012). Relationship between organizational justice & job burnout in employees of Sport & Youth Head Office of Tehran. Applied Science Research, 3 (4), 2438-2445.
S Rothmann, K Mostert, M Strydom. (2006). A Psychometric Evaluation of the Job Demands-resources scale in South Africa. SA Journal of Industrial Psychology, 32 (4), 76-86.
Tae Kuen Kim, Phyllis Solomon & Cinjae Tang. (2010). Organizational Justice and Social Workers' Intentions to Leave Agency Positions. Social Work Research. 1-9.
ZhongZhen. (2011). A Study on the Relationship between Working Stress, Organizational Justice and Job Burnout of Vocational College Teachers. (From: http://www.topresearch.org/showinfo-229-856301-0.html)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอสงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ