ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
Keywords:
Health literacy, Health behaviors, Public health volunteersAbstract
This was survey research aimed to examine the relationship between health literacy and the health behaviors of village health volunteers. The sample group comprised 341 Village Health Volunteers (VHVs) from Sing Buri Hospital. A questionnaire, developed by the Division of Health Education, Department of Health, Ministry of Public Health, focusing on health literacy and public health behavior, was utilized as the primary data collection tool. The gathered data were then analyzed using percentages, means, and standard deviations, while correlations were determined using Pearson's correlation coefficient.
The results indicated that the level of health literacy, health behavior, food consumption, stress management, smoking, and consumption of alcohol and other alcoholic beverages were rated as very good. However, physical activity achieved a fair level. The study further revealed that components of health literacy, such as health information and service access skills (r=.334, p.001), health information comprehension (r=.335, p.001), health information and service assessment (r=.290, p.001), and the application of health data and services (r=.440, p.001), had a weak positive correlation with health behaviors. The results of this study will serve as foundational data to bolster health knowledge and behaviors among village health volunteers. Furthermore, these insights can be expanded upon to benefit other community groups in the future.
References
กรมสนับสนุนบริการ กระทรวงสาธารณสุข. (2562). คู่มือ อสม.หมอประจำบ้าน. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก http://phc.moph.go.th.
กรมอนามัย. (2565). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฯ ฉบับที่ 12. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก
http://planning.anamai.moph.go.th.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2561). การเสริมสร้างและประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ. นนทบุรี: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
ทรรศนีย์ บุญมั่น. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจังหวัดสุโขทัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
เบญจวรรณ บัวชุ่ม. (2563). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลป่างิ้ว อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 16(3), 49-58.
ภานุวัฒน์ พิทักษ์ธรรมากุล. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในชุมชนต้นแบบของเขตสุขภาพที่ 5. กาญจนบุรี: กลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที 5.
โรงพยาบาลสิงห์บุรี. (2565). สรุปผลการตรวจสุขภาพ อสม.ประจำปี 2564. สิงห์บุรี: กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสิงห์บุรี.
วิชัย เอกพลากร. (2564). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6
พ.ศ. 2562 - 2563. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.
วิมล โรมา, ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์, มธุรส ทิพยมงคลกุล, ณัฐนารี เอมยงค์, นรีมาลย์ นีละไพจิตร,
สายชล คล้ายเอี่ยม และมุกดา สำนวนกลาง. (2561). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสำรวจ
ความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2560 (ระยะที่1).
จาก http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4926?locale-attribute=th
สำนักงานสาธารณสุข. (2565). ข้อมูลอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจังหวัดสิงห์บุรี. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี.
อภิญญา อินทรรัตน์. (2557). ความฉลาดทางสุขภาพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ Health literacy of Health Professionals. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 174-178.
Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health promotion international, 15(3), 259-267.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 STOU Academic Journal of Research and Innovation (Humanities and Social Science) (Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.