สภาพการบริหารจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

พรรณวดี สิงห์เรือง
ธิดารัตน์ จันทะหิน
จิณณวัตร ปะโคทัง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ 2) เปรียบเทียบความคิดเห็น จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน 3) ศึกษาปัญหาและแนวทางสภาพการบริหารการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี โดยจำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ศึกษาจากกลุ่มประชากรทั้งหมด ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและครูผู้สอนภาษาจีน จำนวนทั้งสิ้น 193 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การทดสอบค่า F-test ทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธีของ Scheffe และการวิเคราะห์เนื้อหา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2549). เทคโนโลยีการบริหารการศึกษา. (ออนไลน์).
จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีแนวปฏิบัติการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊ค พอยท์.
จิตติมา ฤทธิ์เลิศ. (2549). การบริหารงานตามนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต2. ปริญญนิพนธ์รัฐศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. (สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสำเนา.
จิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย. (2551). สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา. เข้าถึงได้จาก www.th.aectourismthai.com
เฉลิมลาภ ทองอาจ. (2555). ก้าวสู่ศตวรรษที่ 21: เส้นชัยที่การศึกษาไทยยังไปไม่ถึง.วารสารครุศาสตร์ (กรกฎาคม - ตุลาคม)
ชาตมังกร เลนคำมี. (2550). ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2. งานนิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณัฐนนท์ ป้องวัน. (2550). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน เขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่ :พิมพ์ลักษณ์.
ตวงพร ด้วงหวา. (2547). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับปฐมวัยตามความคิดเห็นของครูและผู้ปกครองในเขตห้วยขวาง.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ทิศนา แขมมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพ ฯ: จุฬาลงกรณ์.
เทศ แกล้วกสิกรรม. (2553). หลักการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). รายงานการวิจัยเรื่องสภาพและปัญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน http://www.onec.go.th/publiccation/tera/tera.pdf นนทบุรีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นริศ วศินานนท์. (2559). สภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในอนาคต. วารสารจีนศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.
ประเสริฐ เชษฐพันธ์. (2542). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2545). การบริหารวิชาการ.กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553.ราชกิจจานุเบกษา. ฝ่ายวิชาการสำนักพิมพ์เดอะบุคส์.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.วารสารวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2550.
วัชราวลี วัชรีวงศ์ ณ อยุธยา. (2552). การบริหารจัดการหลักสูตร. [ม.ป.พ.]. มหาวิทยาลัย.
ภัทริยา จารงค์. (2552). สภาพปัญหาการบริหารโรงเรียนเอกชนสามัญระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดนราธิวาส. สารนิพนธ์.การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ:
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
วิภาพร ตรัยสิงห์พิทักษ์. (2545). ความคิดเห็นของครูในการบริหารงานของโรงเรียนสถานศึกษานานาชาติ (ISB). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
ศิริพงษ์ เศาภายน. (2548). หลักการบริหารการศึกษา : ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ.ศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.สภาลาดพร้าว.
สมศักดิ์ คงเที่ยง. (2542). หลักการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุวิมล ว่องวานิช. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.