การจัดการชั้นเรียนยุคดิจิทัล

Main Article Content

สุวดี อุปปินใจ
พูนชัย ยาวิราช

บทคัดย่อ

สถาบันผลิตครูในประเทศไทยต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการผลิตและพัฒนาครูให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล. ครูไทยยุคใหม่ต้องรู้และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับการศึกษาไทยให้มีคุณภาพ. เทคโนโลยีดิจิทัลทำให้โลกไร้พรมแดน ทำผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งในห้องและนอกห้องเรียน. การพัฒนาความสามรถในการรู้ดิจิทัล คือ กระบวนการการเรียนรู้ตลอดชีวิต. ทักษะเฉพาะที่จำเป็นสำหรับการรู้ดิจิทัลจะแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับความต้องการและสถานการณ์ของผู้เรียน ซึ่งอาจครอบคลุมตั้งแต่การรับรู้ขั้นพื้นฐานและการฝึกอบรมสู่การนำไปใช้งานที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนยิ่งขึ้น. นอกจากนี้การรู้ดิจิทัลไม่ใช่แค่การรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี แต่ยังครอบคลุมถึงจริยธรรม สังคม และการสะท้อน (Reflection) ในการทำงาน การเรียนรู้ การพักผ่อน และชีวิตประจำวัน


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล (2558). เด็กยุคดิจิทัล. สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (encyclopedia of Education), 57, 79-83.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์และคณะ. (2559). ความเป็นครูและการพัฒนาครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ.
วิจารณ์ พานิช. (2557). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ: ตถาตาพับลิเคชั่น.
วิโรจน์ สารรัตนะ (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศศิธร ขันติธรางกูร. (2551). การจัดการชั้นเรียนของครูมืออาชีพ. วารสารครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 1(2): 1-19.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). (2561). การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2561 จาก https://goo.gl/S3WddE.
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2561). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ วันที่ 25 มีนาคม 2561 จาก https://goo.gl/c9j4vL
Juke, I. (2013). Understanding digital children. Retrieved February 15, 2013, from http://edorigami.wikispaces.com/Understanding+Digital+Children+Ian+Jukes
Marc, P. (2010). Educational Technology for School Leaders. California, United States of America.
Prensky, M. (2012). From Digital Natives to Digital Wisdom: Hopeful Essays for 21st Century Learning. doi:10.4135/9781483387765
Sanrattana, W. (2013). A new paradigm for education: Case studies toward the 21st century. Bangkok: Thipayawisut. (in Thai)
Sujjanun, J. (2013). Education and community development in the 21st century. Bangkok: Odeonstore. (in Thai)
Thanaphonphan, R. (2001). Education capitalism and globalization. Bangkok: Kobfai Books. (in Thai)
Wattanatorn, A. (2013). Teacher Education and Change for Human and Social Growth. Journal of Education Naresuan University, 15(1), 111- 116. (in Thai)
WICE Logistics. (2561). ดิจิทัล 4.0. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2561 จาก https://goo.gl/ZPR9z3