การบริหารทรัพยากรมนุษย์สู่การบริหารจัดการคนเก่ง: กระบวนการขับเคลื่อนสถานศึกษาเอกชนในยุคโลกผกผัน

Main Article Content

นิกร ชุกะวัฒน์
จารุวรรณ พลอยดวงรัตน์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอความสำคัญและกระบวนการการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management) 6 ด้าน คือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Planning) 2. การสรรหา (Recruitment) 3. การคัดเลือก (Selection) 4. การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)   5. การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) และ 6. การจ่ายค่าตอบแทน ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาสู่ระบบการบริหารคนเก่ง (Talent Management Systems) แบ่งออกเป็น 4 กระบวนการ ได้แก่      1. การระบุตัวบุคลากรที่มีความสามารถสูง (Talent Identification) 2. การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถสูง (Talent Development) 3. การให้รางวัลแก่บุคลากรที่มีความสามารถสูง (Talent Rewarding) 4. การรักษาบุคลากรที่มีความสามารถสูงไว้กับองค์กร (Talent Retention) ความสำคัญของระบบบริหารคนเก่ง และความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารคนเก่งกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งส่งผลต่อการขับเคลื่อนโรงเรียนเอกชนในยุคแห่งโลกที่ผกผัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤติน กุลเพ็ง. (2552). ไม่อยากเสียคนเก่งในองค์กรต้องทำอย่างไร. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซนเตอร์.
เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
กันยารัตน์ จันทร์สว่าง และ สุภาวดี พรหมบุตร. (2562). ทุนมนุษย์กับการเปลี่ยนแปลง: กระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี, 6(2), 210-221.
ธงชัย สันติวงษ์. (2546). การบริหารทรัพยากรมนุษย์.พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
นนทวัฒน์ พิพัฒน์รุ่งเรือง. (2558). การเปรียบเทียบกระบวนการบริหารผู้มีศักยภาพของ 2 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2534). การฝีกอบรมหัวหน้าฝ่ายพัฒนาบุคคล สำนักการประถมศึกษาจังหวัด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์. (2559). หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประไพวรรณ สัมมาทิตฐิ. (2552). การบริหารจัดการคนเก่ง กรณีศึกษาธนาคารแสตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
พงษ์สันติ์ ตันหยง จิดาภา ถิรศิริกุล และ นพพร จันทรนำชู. (2560). อิทธิพลการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรต่อความพึงพอใจในการทำงานและประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการ.วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ บูรพาปริทัศน์, 12(1), 3-4.
พยอม วงศ์สารศรี. (2545). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สุภาการพิมพ์.
ลักษณา ศิริวรรณ. (2555). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2553). การบริหารคนเก่ง (Talent Management). สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิริพงษ์ เศาภายน. (2553). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด.
สมยศ นาวีการ. (2545). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
สมพิศ ใช้เฮ็ง. (2556). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กในเขตเมืองและชนบท. วารสารคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 41(3), 19-37.
สุธี สุทธิสมบูรณ์ และสมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2537). หลักการบริหารเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). แผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาประจำปีงบประมาณ 2562. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา.
อาภัสสรี ไชยคุนา. (2542). การบริหารงานบุคคล. เชียงใหม่: สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.
อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล. (2558). การบริหารจัดการคนเก่งเชิงกลยุทธ์: ปัจจัยสำคัญสู่ความได้เปรียบทางการ
แข่งขันอย่างยั่งยืน. วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(3), 1096-1112.
Bench, Dal S. (1983). Personel: The mangement of People at Work (5 th ed.). New York:
Macmillan.
Berger, A.L. and Berger, R.D. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organization Excellence by Identifying. Developing, and Promoting Your Best People. New York: McGraw-Hill.
Bernadin & Russell. (1993). Research in Education. Englewood Cliffs. New Jersy: Prentice Hall.
Beverly, K. & Sharon, J.E. (2001). Love’ Em or Lose’ Em getting good people to stay. San Francisco, Berrett-Koehler.
David Sears. (2003). Successful Talent Strategies: achieving superior business results through
Market focused staffing. New York.
Dessler, Gary. (2004). A framework for human resource management. New Jersey: Pearson
Education.
Michaels, E. and Axelrod, B. (2001). The War for Talent. Massachusetts: Harvard Business
School Press.
Mondy, R. W., Noe, R. M., & Premeaux, S. R. (2002). Human resource management (8th ed.).
New Jersey: Pearson Education.
Raymond Noe A. et al. (2003). Human resource management: gaining a Competitive
Advantage. River, New Jersey: Pearson Education.
Schweyer, A. (2004). Talent Management System: best practices in technology solutions for recruitment, retention and workforce planning. Canada: John Wiley & Sons.
Werner, Schuler and Jackson. (2012). Human resource management. South-Western:
Cengage Leaning.