Big Data ศูนย์ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา สู่เป้าหมาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
จากการสำรวจข้อมูลนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนนักศึกษารวม 1,028,961 คน จากสถานศึกษา 874 แห่ง (กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร งานอาชีวศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกำลังคนอาชีวศึกษา, 2563) ซึ่งในปัจจุบันการผลิตผู้เรียนด้านอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการจ้างงาน ทั้งภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาชีพที่เป็นความต้องการของตลาดแรงงาน ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย (First S-Curve, New S-Curve) ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของสถานประกอบการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการผลิตและพัฒนากำลังคน จึงได้กำหนดเป้าหมายในการเพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ ปีการศึกษา 2563 เป็นสายอาชีวศึกษา 50 : 50 สายสามัญ ทั้งนี้การที่จะเพิ่มปริมาณผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายดังกล่าว จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ การศึกษาการบริหารจัดการ Big Data ศูนย์ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา เพื่อนำเสนอกรอบแนวทางการพัฒนารูปแบบ การบริหารจัดการ Big Data ศูนย์ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา ซึ่งจะทำให้สามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
Article Details
References
ชัชพล สำเริงฤทธิ์. (2560). การยอมรับบิ๊กดาต้า(Big Data) ในหน่วยงานราชการ. สาขาวิชาการบริหารการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธิ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุกิจ คูชัยสิทธิ์. (2556). กํารเข้าสู่โลกยุคใหม่ของข้อมูล “บิ๊กดาต้า”. วารสารนักบริหาร, 33(1), 22-28.
ศรัญญา การุณวรรธนะ. (2559). เตรียมความพร้อมเรื่อง Big Data. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานครปริทัศน์, 6(2), 10-11.
ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณ. (2562). Big Data กับการบริหารในยุคปัจจุบัน. วารสาร ธุรกิจปริทัศน์, 11(1), 2.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ พฤษภาคม 2559). จาก https://ict.dld.go.th/webnew/index.php/th/organization-menu/plan-ict-dld/211-plan-ict-2559
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554) . กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย (ICT 2020). กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 21 มิถุนายน 2561). จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/228/T4.PDF
กองระบบและบริหารข้อมูลเชิงยุทธสาสตร์ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. Big Data คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2564, จาก https://1stcraft.com/what-is-big-dat
อสมา กุลวานิชไชยนันท์. (2562). กลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Big Data. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.uih.co.th
ฮิวจ์ เดลานี. (2562). การศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.unicef.org/thailand/th/stories/การศึกษาสำหรับศตวรรษที่-21
แอนดรูว์ แม็คคอแชน, (2563). ยกระดับอาชีวศึกษา เพิ่มทางเลือกอนาคต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต ตอบโจทย์โลกยุค Digital สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.eef.or.th/knowledge-25-08-20/
ทรูเวฟ. (2554, 10 พฤศจิกายน). จัดการข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย Apache Hadoop สำหรับองค์กร. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก http://www.throughwave.co.th/2011/11/10/enterprise-apache-hadoop/
บล็อกนัน. (2555, 8 มิถุนายน). ยุทธศาสตร์ Big Data และ Enterprise Storage ของ Dell. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.blognone.com/node/33147
Bemler. (2557). แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://bemler.wordpress.com/2014/04/17/แนวคิดและทฤษฏี
Wang, R. (2011, February 27). Monday’s musings: Beyond The three V’s of big data-Viscosity and virality. Retrieved May 20, 2021, from https://www.raywang.org/blog/2012-02/mondays-musings-beyond-three-vs-big-data-viscosity-and-virality
Minnesota. (2009). 21st Century Skills Minnesota. (Online). Retrieved From http://www.21stcenturyskillsmn.org/ [2017, November 20]
Deming, W.Edwards (1986). Out of the Crisis. MIT Center For Advanced Engineering Study.
Knowles, M.S. (1980). The Modern Practice of Adult Education. New York: Cambridge, The Adult Education.
David Lauzon. (2012). Introduction to Big Data. Retrieved May 20, 2021, from http://publicationslist.org/data/a.april/ref-389/introduction_to_bigdata.pdf