ภาวะผู้นำในยุค Next normal: นวัตกรรมและเทคโนโลยีในยุคอนาคตทางการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความหมายและความสำคัญของภาวะผู้นำในยุค Next normal: นวัตกรรมและเทคโนโลยีในยุคอนาคตทางการศึกษา เนื่องด้วยในปัจจุบันสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงแบบโลกาภิวัตน์ การคาดการหรือการคาดเดาสิ่งต่างๆ นั้นยากมากยิ่งขึ้น ด้วยปัจจัยทั้งทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา ดังนั้นภาวะผู้นำในยุค Next normal มีความสำคัญเป็นอย่างมากที่จะจูงใจคนรุ่นใหม่ให้มีส่วนร่วมในการทำงาน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในองค์การ เป็นผู้นำที่มีความสามารถในการปรับเปลี่ยน มีทัศนคติที่เกื้อหนุนต่อการใช้ชีวิตในรูปแบบใหม่ของคนในสังคม ในทุกช่วงวัย พร้อมที่จะบริหารกำหนดยุทธศาสตร์และนโยบายต่างๆ นำพาองค์การที่บริหารให้สามารถเกิดประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลที่ดีในยุค Next normal ผู้นำจะต้องเป็นผู้นำที่พร้อมเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อนำมาปรับใช้ในการบริหาร ซึ่งเกิดจากวิถีชีวิตของพนักงาน บุคลากร และทีมงานที่มีความคุ้นชินในการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งในมุมมองของการศึกษาแล้วผู้บริหารทางการศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เทคโนโลยีและเปิดรับนวัตกรรมใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา ซึ่งเทคโนโลยีเสมือนจริงจะเข้ามามีบทบาทในยุคอนาคตเป็นอย่างมาก จึงต้องมีการเลือกใช้เทคโนโลยีที่สามารถนำมารองรับการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับองค์การของตนเอง และจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เท่าทันกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีในยุคอนาคต ส่งผลให้ผู้เรียนเติบโตสู่ความเป็นพลเมืองโลก
Article Details
References
กิ่งแก้ว ศรีสาลีกุลรัตน์. (2555). การพัฒนาองค์กร. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 ตุลาคม 2565). จาก
https://www.gotoknow.org /posts/199694
เกรียงไกร พละสนธิ. (2559). การพัฒนารูปแบบคลาวด์เลิร์นนิงแบบสะตีมด้วยเทคโนโลยีความ
เป็นจริงเสริมเพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ขวัญชนก โตนาค สุกัญญา แช่มช้อย และอนุชา กอนพ่วง. (2557). การวิเคราะห์องค์ประกอบ
ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(4), 137-138.
จอย ทองกล่อมศรี. (2560). การศึกษาแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาไปใช้ในการ
พัฒนาการเรียนการสอนและการทำวิจัยของครู. วารสารบรรณศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 10(2), 78-89.
เนตร์พัฒนา ยาวิราช. (2552). การจัดการสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ็กซ์เพรส.
พันธุ์อาจ ชัยรัตน์. (2547). บทนำเบื้องต้นของการจัดการนวัตกรรม การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร.
กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.
ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำประเสริฐชัย. (2546). ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2548). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ: ปัณณรัชต์.
รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). สื่อเสริมการเรียนรู้โลกเสมือนผสมโลกจริง (Augmented Reality) ชุดการจมและ
การลอย. นิตยสาร สสวท., 41(181), 28-31.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ (Leadership). กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8.
กรุงเทพฯ: หจก.ทิพยวิสุทธิ์.
วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง. (2561). พื้นฐานนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาเทคโนโลยี
การศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.
สุนทร โคตรบรรเทา. (2560). ภาวะผู้นำในองค์การสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
ปัญญาชน.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สุเมธ งามกนก. (2558). การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). (2561). การรู้ดิจิทัล (Digital literacy).
(ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 5 กันยายน 2565). จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142- knowledges/2632
หริพล ธรรมนารักษ์. (2558). นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา: ยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: ทริป
เพิ้ล กรุ๊ป.
อรอนงค์ โรจน์วัฒนบูลย์. (2553). การพัฒนาตัวแบบผู้นำเชิงนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์.
Bennis, W., and Nanas, B. (1985). Leader: The strategies for taking change. New York:
Harper & Row.
Bessant, J., and Tidd, J. (2007). Innovation and entrepreneurship. New Jersey: John Wiley &
Sons.
DuBrin, A.J. (1998). Leadership: Research findings, practice and skills. Eaglewood Cliff, N.J.:
Houghton Mifflin.
Gibson, J. L., lvancevich, J. M., and Donnelly, J. H. (1997). Organization Behavior Structure
Process. 9thed. New York: McGrew-Hill.
Harris, Ben M. (1985). Supervisory Behavior in Education. 3rded. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
International Society for Technology in Education (ISTE). (2009). National Educational
Technology Standards for Administrators. Retrieved Octorber15, 2016, From
http://www.iste.org/standards/ISTE-standards/standards-for-administrators
Lunenburg, Fred C. and Ornstein, Allen C. (2000). Educational Administration : Concepts and
Practices. 3rded. California: Wadsworth/Thomson Learning.
Likert, Rensis. (1987). New Pattern of Management. New York: Gorland.
Nash, P.C. (1988). Planning process. New York: The McGrew – Hills Companies.
Perez-Bustamante, G. (1999). Knowledge management in agile innovative organizations.
Journal of knowledge management. 3(1), 6-17.
Stephen P. Robbins and Mary Coulter. (2005). Management. United Kingdom: Prentice Hall.
Stogdill, R. M. (2004). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York:
The Free Press.
Talcott Parsons, (1972). Toward a General Theory of Action. New York: Harper & Row
Publishers.
Tidd, J., and Bessant, J. R. (2005). Managing innovation: integrating technological, market
and organizational change. New Jersey: John Wiley & Sons.
TilestonVol09. (2003). The importance of Media in the Classroom. New York: SAGE
Publishing.
Utterback, J. M. (1971). The process of technological innovation within the firm. Academy of
management Journal, 14(1), 75-88.
Weiss, S., Davic, and Legand, P., Claude. (2001). Innovative Intelligence. Ontario: John Wiley &
Sons Canada.
Creighton, T. B. (2003). The principal as technology leader. California: SAGE.