รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่เน้นภาวะผู้นำและเครือข่ายความสัมพันธ์โดยใช้พื้นที่ปฏิบัติเป็นฐานสู่คุณภาพผู้เรียน

Main Article Content

ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนที่เน้นภาวะผู้นำและเครือข่ายความสัมพันธ์โดย ใช้พื้นที่ปฏิบัติเป็นฐานสู่คุณภาพผู้เรียน ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1)  ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) พัฒนารูปแบบการบริหาร ฯ 4) นำรูปแบบการบริหาร ฯ สู่การปฏิบัติ 5) ประเมินรูปแบบการบริหาร ฯ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหาร ฯ ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 หลักของการบริหาร  องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของการบริหาร องค์ประกอบที่ 3  วิธีการดำเนินการบริหาร  องค์ประกอบที่ 4 แนวทางการประเมินการบริหารคุณภาพ และองค์ประกอบที่ 5  ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ผลพัฒนารูปแบบการบริหาร ฯ มีดังนี้ 1) ผลการตรวจสอบความถูกต้องและความเป็นไป ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการยอมรับรูปแบบการบริหาร ฯ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหาร ฯ มี ผลการประเมินสมรรถนะของครู ในภาพรวมทั้ง 3 โรงเรียนหลังการใช้รูปแบบการบริหาร ฯ สูงขึ้น ทั้ง 2 ด้าน ผลการใช้รูปแบบการบริหาร ฯ ดังนี้ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ค่าเฉลี่ยรวม และทุกรายวิชา สูงกว่าปีที่ผ่านมา สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 2) ผลการประเมินสมรรถนะของครู ในภาพรวมทั้งโรงเรียนหลังการใช้รูปแบบการบริหาร ฯ สูงขึ้น ทั้งใน 2 ด้าน 3) ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อผลการดำเนินการตามรูปแบบการบริหาร ฯ ของครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลประเมินรูปแบบการบริหาร ฯ พบว่า มีความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). แนวทางพัฒนา “โรงเรียนคุณภาพ” ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

ข่าวศธ. 360 องศา. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/360guidelines-developing- quality/

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560). การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนของโรงเรียนวัดวังเป็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต).ชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นจากhttp://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/ files/57920536.pdf

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2564). กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงใน 8 ขั้นตอน. สืบค้นจาก https://drpiyanan.blogspot.com/)

รัตนะ บัวสนธ์. (2563). การประเมินผลโครงการวิจัยเชิงปริมาณ. กรุงเทพมหานคร : ต้นอ้อมแกรมมี่.

รุ่งทิพย์ เข็มทิศ. (2559). การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนของโรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 3 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต).ชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา สืบค้นจากhttp://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/ 57920536.pdf

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2553). การวิจัยพัฒนารูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 2(4) : 3.

วาสนา ชูแสง. (2557). การดำเนินงานการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต).กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. สืบค้นจาก http://cms.dru.ac.th/jspui/ handle/123456789/160

สมหมาย อ่ำดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 7(1), 1-7.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาการประถมศึกษาพะเยา เขต 2 . (2564). แผนพัฒนาการศึกษาข้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2565 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2. พะเยา: สำนักงานฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง จุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สืบค้นจาก https://www.obec.go.th/wp-content/ uploads/2018/10/OBECPolicy62.pdf

สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน). (2563). ประเมินภายนอกรอบ 4. . สีบค้นจาก https://www.onesqa.or.th/

สุเทพ พงษ์ศรีพัฒน์. (2556). องค์ประกอบของโรงเรียนที่ดี. สืบค้นจากhttp://suthep.crru.ac.th/

สุเทพ พงษ์ศรีวัฒน์ (2545). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎีและปฏิบัติ. สืบค้นจาก https://www.car.chula. ac.th/display7.php?bib=b1788286

อธิคุณ สินธนาปัญญาม อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์ม ราชันย์บุญธิมา, และวีระ สุภากิจ. (2557). การบริหารความสุขในสถานศึกษา. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(88), 15-32. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/download/257899/175118/972157

________. (2563). การบริหารความสุขในสถานศึกษา. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/download/244771/166374/847791

อำรุง จันทวานิช. (2547). แนวทางการบริหารและการพัฒนาสถานศึกษาสู่โรงเรียนคุณภาพ.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.