การพัฒนาสมรรถนะครูไทยยุคปกติใหม่ตามแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

Main Article Content

ศกุนตลา พร้อมมูล
บรรจบ บุญจันทร์
อริสา นพคุณ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและหลักการการพัฒนาสมรรถนะครูไทยยุคปกติใหม่ตามแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน หากต้องการให้ผู้เรียนมีสมรรถนะด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนแล้ว ครูนั้นนับว่าเป็นบุคคลสำคัญที่จะต้องได้รับการพัฒนาให้เข้าใจ ตระหนักรู้ และมีสมรรถนะด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนเช่นกัน องค์ประกอบของการพัฒนาอย่างยั่งยืนมี 5 ส่วน คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ (สภาพทรัพยากร) ด้านระบบชีวภาพ และด้านคุณภาพชีวิต ครูยุคปกติใหม่ควรมีสมรรถนะที่สำคัญ ได้แก่ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ทักษะการสอนที่หลากหลาย ความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนรู้ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ การส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการส่งเสริมการทำงานร่วมกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

อริสา นพคุณ, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 

 

 

References

กาญจนา เงารังษี. (2559). การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(2), 13-18.

จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์. (2554). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ทริปเพิล เอ็ดดูเคชั่น.

ฉัตร์ณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์สุธรรมดี. (2560). การประยุกต์ใช้สมรรถนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11(1), 262-269.

ฐกร พฤฒิปูรณี และประเสริฐ อินทร์รักษ์. (2565). การพัฒนาสมรรถนะครูในช่วงยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580). วารสารวิจยวิชาการ, 5(6), 87-98.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2556). มารู้จัก Competency กันเถอะ. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ธนกฤต อั้งน้อย. (2563). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูใหม่ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดโรงเรียนเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2555). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยสัมพันธ์.

มานะ สินธุวงษานนท์, ณัฐยา บุญกองแสน และกชกร หวังเติมกลาง. (2566). การศึกษากับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs). วารสารมณีเชษฐารามวัดจอมมณี, 5(6), 527-544.

ราชบัณฑิตยสภา สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง. (2562). ทำไมจึงต้องสร้างความฉลาดรู้ : ศึกษาจากปรากฏการณ์ และทำนายอนาคต. หนังสือเนื่องในการประชุมวิชาการ โดยประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตสภา ร่วมกับจุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมดวงเดือน พิศาลบุตร (ห้อง 101) อาคารประชุมสุข อาชวบำรุง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วนิดา ภูชำนิ. (2564). การพัฒนาสมรรถนะของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21: กรณีโรงเรียนบ้านนาตาลคำข่า. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ. (2564). อนาคตของความยั่งยืน = Future of Sustainability.กรุงเทพฯ : แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน: คู่มือสมรรถนะหลัก. นนทบุรี: บริษัทประชุมช่าง จํากัด.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ความเป็นมาของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อริสา นพคุณ. (2560). การพัฒนาสมรรถนะครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

Alberta Government. (2016). Competencies: Descriptions & Indicators. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2567). จาก https://bit.ly/3jMT8sr

Barbier, E. B., & Burgess, J. C. (2017). The sustainable development goals and the systems approach to sustainability. Economics, 11(1), 20170028.

Brundtland, G. H. (1987). Our common future: Report of the world commission on environment and development. Geneva, UN-Document.

McClellan, G. B. (1980). McClellan's last service to the republic. The North American Review, 130(281), 309-337.

McClelland, D. C. (1973). Introduction to the concept of competence in spencer. New York: John Wiley and Son.

Mochizuki, Y. and Vickers, E. (2017). Rethinking schooling for the 21st century: The state of education for peace, sustainable development and global citizenship in Asia. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2567). จาก https://www.researchgate.net/publication/321267766

Ofei-Manu, P. and Didham, R. J. (2014). Quality education for sustainable development: A priority in achieving sustainability and well-being for all. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2567). จาก https://www.researchgate.net/publication

Rabie, M. (2016). A theory of sustainable sociocultural and economic development. New York: Palgrave Macmillan US.

Spencer, L. M. and S. M. Spencer. (1993). Competence at work: Model for superior performance. New York: John Wiley and Sons.

UNESCO. (2015). UNESCO Global Geoparks Operational Guidelines. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 18กุมภาพันธ์ 2567). จาก https://www.unesco.org

United Nations. (2015). Transforming our world: The 2030 agenda for sustainable development: Division for sustainable development goals. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 18กุมภาพันธ์ 2567). จาก https://sdgs.un.org/sites/default/files/publications