ผลของการใช้พลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูงร่วมกับเชื้อรา Trichoderma asperellum ต่อการเกิดโรครากเน่าในผักคะน้าจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum ต่อการเกิดโรครากเน่าของคะน้า

ผู้แต่ง

  • ศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มทร.ล้านนา

คำสำคัญ:

พลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูง, เชื้อรา Trichoderma asperellum, เชื้อรา Pythium aphanudermatum, โรครากเน่า, ผักคะนํ้า

บทคัดย่อ

ผลของพลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูงร่วมกับเชื้อรา T. asperellum ต่อกำรเกิดโรครากเน่าของ คะน้าในระบบการปลูกแบบไฮโดรโพปนิกส์ที่เกิดจากเชื้อรา P. aphanidermatum โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 7 กรรมวิธี ๆ ละ 4 ซํ้า พบว่า กรรมวิธีที่มีการใช้สารละลายธาตุอาหารแบบเดี่ยวๆ และกรรมวิธีที่มีกำรใช้สำรละลายธาตุอาหารร่วมกับ พลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูง มีการเจริญเติบโตของต้นคะน้ามากที่สุด คือ มีความสูงของต้น ความยาวราก นํ้าหนักสด และ นํ้าหนักแห้ง มีดัชนีกำรเกิดโรคตํ่าที่สุด คือ ร้อยละ 0 และมีต้นคะน้ารอดตายมากที่สุด คือ ร้อยละ 100 ในกรรมวิธีที่มีการใช้เชื้อรา T. asperellum ในสารละลายธาตุอาหาร ต้นคะน้ามีดัชนีการเกิดโรคร้อยละ 10.94 และต้นคะนํ้ารอดตายร้อยละ 90.63 ส่วนกรรมวิธีที่มีการใส่เชื้อรา P. aphanidermatum ในสารละลายธาตุอาหารที่ผ่านพลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูง พบว่า ต้นคะน้ามีดัชนีการเกิดโรคสูงที่สุด คือร้อยละ 56.25 และต้นคะนํ้ามีร้อยละการตายต่าที่สุด คือร้อยละ 43.75 และกรรมวิธีที่มีการใช้เชื้อรา P. aphanidermatum ร่วมกับ T. asperellum ในสารละลายธาตุอาหารที่ผ่านพลาสมาแรงดันไฟฟ้าสูง พบว่า ต้นคะนํ้ามีดัชนีกำรเกิดโรคร้อยละ 21.88 และต้นคะนํ้ารอดตายร้อยละ 78.12

References

- จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และวิราพร ชีวะพานิช. 2559. ประสิทธิภาพของเชื้อราTrichoderma. asperellum และโพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต ต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและการลดโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูก ในระบบไฮโดรโพนิกส์ วารสาร วิทย. กษ. 47(3): 363 – 374.
- ชิติ ศรีตนทิพย์, วิเชียร ผลแสง, วิษณุ ทองเล็ก, ชาญชัย เดชธรรมรงค์ และคิโยชิ โยชิคาวา. 2561. การประยุกต์ใช้ไมโคร/นาโนบับเบิลส์ต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าคะน้า. วารสารวิทยาศาตร์เกษตร 49: 1 (พิเศษ): 37-41 (2561)
- ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ, นพรัตน์ ทัดมาลา และวาริช ศรีละออง. 2555. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีฟองอากาศขนาดนาโนและไมโครร่วมกับโซเดียมไฮโปรคลอไรดท์เพื่อลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์และรักษาคุณภาพของผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภค. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ฉบับที่ 43(2) พิเศษ: 61-64 (2555)
- ทิพวิมล ไตรกูล, 2561, การพัฒนาเครื่องกำเนิดพลาสมาแบบไดอิเล็กทริคแบริเออร์ดิสชาร์จสำหรับเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ดข้าวพันธุ์ปทุมธานี 80 (กข 31) วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี, 109 น.
- นบชุลี นวลอ่อน, A. Hideki, จำนงค์ อุทัยบุตร และการดา หวังชัย. 2557. ผลของไมโครบับเบิลโอโซนร่วมกับคลื่นอัลตราโซนิคต่อการลดปริมาณสารอีไทออนตกค้างในส้มพันธุ์สายน้ำผึ้ง. Postharvest Newsletter. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2557. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- พรหมมาศ คูหากาญจน์ กนิมนันต์ เจนอักษร และศุภชัย รัตโนภาส. 2540. โรคที่พบบนแตงกวายุโรป ที่ปลูกในระบบปลูกพืชไม่ใช้ดิน ในช่วงฤดูหนาว.ใน รายงานประชุมวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 35 กุมภาพันธ์ 2540, น. 179-187.
- มณีรัตน สิงหวิบูลย์ ภาณุมาศ ฤทธิไชย และเยาวพา จิระเกียรติกุล. 2561. ผลของพลาสมาแบบไดอิเล็กทริคแบริเออร,ดิสชาร์จต่อความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอม. สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี. 12120. 7 น.
- อรรถพล แก่นสาร. 2557. อิทธิพลของวัสดุเพาะกล้าและวัสดุปลูกชีวภาพที่ ผสมด้วยจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ต่อการเจริญเติบโตของ ผักกาดหอม และการควบคุมโรครากเน่าที่เกิดจากเชื้อรา P. aphanidermatum. สาขาสุขภาพพืช, ภาควิชาโรคพืช, มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์.144 น.
- Barnett, H.L. and B.B. Hunter. 1972 Illustrated Genera of Imperfect Fungi. Burgess Publishing Company, Minnesita.
- Chiti Sritontip, Chanchai Dechthummarong, Vishnu Thonglek and Wichien Phosaeng. 2017. Effect of High Voltage Plasma and Micro/Nano Bubbles on Seed Germination and Growth of Crop under Hydroponic System. 2nd International Symposium on Application of High-Voltage, Plasma & Micro/Nano Bubbles to Agriculture (ISHPMNB 2 2017)
- Chiti Sritontip, C. Dechthummarong, V. Thonglek, Y Khaosumaim and P. Sritontip. 2019. Stimulation of Seed Germination and Physiological Development in Plants by High Voltage Plasma and Fine Bubble. International Journal of Plasma Environment Science & Technology, Vol. 12, No. 2, January.
- Chiti Sritontip, P. Sritontip, S. Changieraja, Y. Khaosumain, S. Amthong V. Thonglek and Rungrawan Tana. 2019. Effect of Bubbles on Growth and Yield of Red Oak Lettuce Grown in Nutrient Solution in Summer Season ประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11 การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 “วิถีราชมงคลขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสร้างสรรค์เศรษฐกิจและสังคม” ระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
- Fortnum, B.A., J. Rideout, S.B. Martin, and D. Gooden. 2000. Nutrient solution temperature affects Pythium root rot of tobacco in Greenhousr float systems. Journal of Plant Disease. 24(3): 289 – 294.
- Gold, S.E. and M.E. Stanghellini. 1985. Effect of temperature on Pythium aphanidermatum root rot of spinach grown under hydroponic codition, Journal of Plant Dis. 75 (3): 333-337.
- Howell, C.R. 2003. Mechanisms employed by Trichoderma species in the biological control of plant disease: The history and evolution of current concept. Journal of Plant Disease. 87(1): 4 - 10
- Stanghellini, M.E. and W.C. Kronland. 1986. Yield loss in hydroponically grown lettuce attributed to subclinical infection of feeder rootlets by Pythium dissotocum. Journal of Plant Disease. 70 (11): 1053-1056
- Zhou, T. and T.C. Paulitz. 1993. In vitro and in vivo effects of Pseudomonas spp. On Pythium aphanidermatum: zoospore behavior in exudates and on the rhizoplane of bacteria treated cucumber roots. Journal of Phytopathology. 83: 872 – 876.
- Zinnen, T.M. 1988. Assessment of plant diseases in hydroponic culture. Journal of Plant Disease. 72(2): 96 - 99

เผยแพร่แล้ว

12/14/2021