การกลั่นเอทานอลโดยใช้คลื่นไมโครเวฟ
คำสำคัญ:
การกลั่น, เจลล้างมือ, ไมโครเวฟ, เอทานอล, แอลกอฮอล์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกลั่นเอทานอลจากน้ำตาลสดหมักปริมาณ 300 ml โดยใช้คลื่นไมโครเวฟ เพื่อใช้เป็นส่วนผสมของเจลล้างมือสำหรับฆ่าเชื้อโรค ผลการทดลองพบว่าการใช้กำลังไฟฟ้า 300 W สามารถทำอุณหภูมิในการกลั่นได้ในช่วง 75 - 90 ๐C ใช้เวลา 50 min สามารถกลั่นเอทานอลได้ 80 %v/v และนำมาผสมทำเจลล้างมือตามสูตร แอลกอฮอล์ (alcohol 80 %v/v) 150 ml, ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide 3 %v/v) 8 ml, กลีเซอรีน (Glycerin 98 %v/v) 3 ml, เติมน้ำต้มสุก 39 ml และผสมให้เข้ากันสามารถใช้เป็นเจลล้างมือได้ซึ่งเร็วกว่าการกลั่นเอทานอลแบบทั่วไป
References
[2] ดร.สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. เคมีอินทรีย์: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด; 2552.
[3] ดร.ประเสริฐ ศรีไพโรจน์. เคมีอินทรีย์พื้นฐาน: หจก.เอ.ซี.ที การพิมพ์; 2552.
[4] บัณฑิต โรจน์อารยานนท์. วิศวกรรมไมโครเวฟ: โรง พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.
[5] สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. จาก: http://164.115.25.115/T/main.html
[6 กุมภาพันธ์, 2020].Thai.
[6] Chanapon. Rosetta: ETHANOL energy of THAILAND. Available from: https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1619&pageid/ [ACCEAAED 18 April 2010].Thai.
[7] Kittichai Trairatanasirichai. Distillation of ethanol from sweet sorghum by reflux. Khon Kaen University.2011;1-10.Thai.
[8] Phobet Pongsuwan. Microwave Application for the Ethanol Production from Pineapple Peels. Prince of Songkla University.2557;1-148.Thai.
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการปรับปรุงแก้ไขตัวอักษรและค่าสะกดต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง และต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และผลการพิจารณาคัดเลือกบทความตีพิมพ์ในวารสารให้ถือเป็นมติของกองบรรณาธิการเป็นที่สิ้นสุด