การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะในการจัดทำบัญชี สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คำสำคัญ:
การพัฒนาหลักสูตร, การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน, ทักษะในการจัดทำบัญชีบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและศึกษาผลการใช้หลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะในการจัดทำบัญชี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาบัญชีกิจการบริการ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ หลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะในการจัดทำบัญชีสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และแบบทดสอบวัดทักษะในการจัดทำบัญชี
ผลการวิจัยพบว่า ผลการสร้างหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีคะแนนผลการวัดทักษะการจัดทำบัญชีหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.)
เจษฎายุทธ ไกรกลาง. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปัญหาเป็นฐานต่อการส่งเสริม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. วิทยาศาสตรศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา. (2537). ความคิดสร้างสรรค์ที่พัฒนาได้. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์
พัชฎาพรรณ แสงตะวัน. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดการใช้ปัญหาเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาการบัญชีเบื้องต้น เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพศาล สุวรรณน้อย. (2556). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการเรียนการสอน. แหล่งที่มา https://ph.kku.ac.th/thai/index.php/student/2013-05-09-17-53-61/38-km-2556/499-2015-10-01-08-53-02. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 256
มัณฑรา ธรรมบุศย. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning). วิชาการ. 2 กุมภาพันธ์, 11-17.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2545). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: อาร์แอนด์ปริ้นท์
สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสหาย
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด
Barrows, H.S. and Tamblyn, Roblyn M. (1980). Problem Based Learning: An Apprpach to Medical Education. New York: Spinger
Delisle, R. (1997). How to use Problem-Based Learning in the Classroom. Alexandria: ASCD.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of education. New York: MaGraw-Hill.
Saylor Alexander and Lewis. (1981). Curriculum Planing for The Better Teaching and Learning. New York: Holt Rinehart and Winston.
Taba, Hilda. (1962). Curriculum development: Theory and practice. New York: Harcourt, Brace and World.
Tyler, R.W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: The University of Chicago Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง