กลยุทธิ์การสื่อสารสุขภาพทางสื่อโฆษณาออนไลน์ในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด-19
คำสำคัญ:
กลยุทธิ์การสื่อสารสุขภาพ, สื่อโฆษณาออนไลน์, ไวรัสโควิด-19บทคัดย่อ
จากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในประเทศไทย ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ต้องกักตัวอยู่ภายในบ้าน รัฐบาลได้มีมาตรการปิดห้างสรรพสินค้า สถานที่ท่องเที่ยว ตลาดสด ร้านค้า และผู้ให้บริการประเภทต่าง ๆ ทำให้นักโฆษณาต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการโฆษณา ซึ่งกลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพทางสื่อออนไลน์ เป็นวิธีการหนึ่งที่เป็นการนำเสนอขายสินค้าในภาวะที่ประชาชนต้องกักตัวภายในบ้าน โดยใช้แนวคิดหลักของการโฆษณา คือ การขายสินค้าที่นำเสนอเกี่ยวกับข้อมูลของสุขอนามัย แสดงถึงความเป็นห่วงเป็นใยผู้บริโภค การสร้างบุคลิกภาพในตราสินค้า เพื่อให้ตราสินค้ามีความเหมาะสม และแตกต่างจากสินค้าคู่แข่งขัน สะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคง สร้างความน่าเชื่อถือ สร้างความจดจำในตราสินค้า และเกิดความภาคภูมิใจเมื่อใช้สินค้า เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการตลาด ซึ่งจะทำให้สินค้าขายได้ในช่วงวิกฤติไวรัสโควิด-19
References
ณัฏฐพร สิงห์คำ. (2556). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนาสู่นานาชาติของวัดป่านานาชาติ จังหวัดอุบลราชธานี. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ธนพัฒน์ ชิตโสภณดิลก. (2558). กลยุทธ์การสื่อสารบน Facebook Fanpage Goal Thailand ที่มีผลต่อการเข้าชมเว็บไซต์ Goal.com/th/. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
นิตยสารโพสิชันนิ่ง. (2563). เปิด 3 ผลกระทบ 3 แนวทางปฏิบัติ ที่นักการตลาด ต้องรับมืออยู่ร่วมกับ COVID-19. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/archives/153064 ค้นหาเมื่อ 19 มีนาคม 2563
มลินี สมภพเจริญ. (2551). สถานการณ์การสื่อสารสุขภาพ. วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 31 ฉบับที่ 110
กันยายน-ธันวาคม 2551. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
มาร์เกตติ้งอุปส์. (2563). COVID-19 Effect! เขย่าวงการโฆษณา-การค้า-วิถีชีวิตคนครั้งใหญ่ และถอด 5 บทเรียนแบรนด์-เอเยนซีควรรู้. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.marketingoops.com/reports/industry-insight/covid-19-effect ค้นหาเมื่อ 29 เมษายน 2563.
เมธาวี จำเนียร และเมธี แก้วสนิท. (2561). การสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชน. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561.
รัตนาภรณ์ ชูรอด. (2555). การสร้างสรรค์โฆษณา. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://heajan2012.wordpress.comบทความโฆษณา-2/ออกแบบโฆษณา ค้นหาเมื่อ 30 เมษายน 2563.
สุพริศร์ สุวรรณิก. (2563). โลกจะเปลี่ยนไปอย่างไร หลังวิกฤติโควิด-19 จบลง?. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.thairath.co.th/news/business/1807048 ค้นหาเมื่อ 30 มีนาคม 2563.
สาวิตรี รินวงษ์. (2563). วิกฤติอุตฯสื่อ-โฆษณา ฝ่าวงล้อมโควิด. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/877880 ค้นหาเมื่อ 26 เมษายน 2563.
อภิชาติ ติลกสกุลชัย. (2554). การศึกษาความต้องการข้อมูลของนักท่องเที่ยวชาวไทยผ่านสื่อออนไลน์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อารยา โคกระบินทร์. (2554). กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณาของสถาบันเสริมความงามในนิตยสารเพื่อผู้หญิง. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อิริยาพร อุดทา. (2559). กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพออนไลน์ผ่านสื่อเฟซบุ๊กของโรงพยาบาลพญาไท. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Claudia Parvanta. (2017). A public health communication. Jones & Bartlett Learning
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง