การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ, ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจผ่านระบบเว็บไซต์ โดยศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ต่อระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้การพัฒนาระบบ ได้แก่ โปรแกรมภาษาพีเอชพี (PHP) และระบบฐานข้อมูลมายเอชคิวแอล (MySQL) และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม กำหนดสถิติที่ใช้ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ผ่านระบบเว็บไซด์ สำหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ต่อการใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จำนวน 400 คน พบว่า ความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.79 และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.24 ซึ่งมีผลค่าความพึงพอใจในระดับดีมาก ดังนั้น สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจในการประกอบธุรกิจได้
References
กรไชย พรลภัสรชกร. (2565). นวัตกรรมการบัญชีเพื่อการจัดการเชิงกลยุทธ์. ตักสิลาการพิมพ์.
กิตติยา ปัญญาเยาว์, ปัชฌา ตรีมงคล, วชิรญา เหลียวตระกูล, กฤษณะ รัตนพลแสน, วิเศรษฐ์ หมื่นสี และธิมารัตน์ สงเคราะห์ธรรม. (2563). ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษาชุมชนบ้านสร้าง อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563, 17 พฤษภาคม). ความเปราะบางของธุรกิจ SMEs และมาตรการช่วยเหลือ. https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/ articles/Pages/Article_28Apr2020.aspx
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่) (พิมพ์ครั้งที่ 7). สุวีริยาสาส์น.
พีรญา เต่าทอง และนนทรัฐ บำรุงเกียรติ. (2565). ระบบฐานข้อมูลสำหรับบริหารจัดการข้อมูลสินค้าอะไหล่ส่วนงานบำรุงรักษาและการคาดคะเนการสั่งซื้อด้วยเทคนิคทางคณิตศาสตร์ของสถานประกอบการด้านอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดลพบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง,
(1), 76-88.
วุฒิพงษ์ ชินศรี และศิริวรรณ วาสุกรี. (2558). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นสำหรับการวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 1–17.
ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560, 22 มกราคม). ฐานข้อมูลผู้ประกอบการ SMEs. http://203.154.140.77/sme/Report/View/1190
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2565, 12 เมษายน). SME Digital Literacy กับระดับการเปลี่ยนผ่านด้านดิจิทัลของผู้ประกอบธุรกิจรายย่อยและขนาดเล็กในประเทศไทย. https://www.pier.or.th/abridged/2022/05/
สำนักส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560, 27 ธันวาคม). แผนการส่งเสริม SME ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2560-2564. http://203.154.140.77/sme/Report/View/1190
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560, 2 สิงหาคม). สำมะโนครัวอุตสาหกรรม. http://www.nso.go.th
สุทัศน์ กำมณี, ขวัญนรี กล้าปราบโจร, ศิริรัตน์ เช็งเส็ง, ฐิติพร พระโพธิ์, สร้อยเพชร ลิสนิ และบุตรศรินทร์ แสงสว่าง. (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ชุมชน. มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี.
Nunnally J. C. and Bernstein I. H. (1994). Psychometric theory. McGraw- Hill.
Yamane, T. (1967). Statistics, An introductoryanalysis (2nd ed.). Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง