การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียนของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ
คำสำคัญ:
นักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้, ความสามารถด้านการอ่านและการเขียน, รูปแบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านการเขียนของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนในการใช้รูปแบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ที่มีผลคัดกรองภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ที่มีแนวโน้มจะเป็นบุคคลที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แบบคัดกรอง BRIEF2 Screening Teacher Form 2 ) ชุดกิจกรรมการอ่านและการเขียน 3) แบบทดสอบการอ่านและการเขียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการศึกษา 1) การประเมินผลด้านการอ่านการเขียนหลังเรียนจำนวน 7 กิจกรรมนักเรียนผ่านเกณฑ์การทดสอบการอ่านการเขียนตามเกณฑ์ที่กำหนด นักเรียนสามารถอ่านและเขียนได้โดยลำดับกิจกรรมจากง่ายไปยาก จัดตารางเรียนให้นักเรียนเรียนเป็นกลุ่มย่อย 2) ความพึงพอใจในการใช้รูปแบบการตอบสนองต่อความช่วยเหลือของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.61, S.D.=0.62) สรุปการพัฒนาการอ่านการเขียนของนักเรียน ครูให้ความเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด ทำให้นักเรียนเกิดการพัฒนาการอ่านและการเขียนที่ตอบสนองต่อการช่วยเหลือ
References
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2567). สถานการณ์ด้านคนพิการ. https://dep.go.th/th/law-academic/knowledge-base/disabled-person-situation.
เกศรินทร์ ศรีธนะ, ดารณี ศักดิ์ศิริผล และไพฑูรย์ โพธิสาร. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเรียนรวมตามกระบวนการอาร์ทีไอ (Response to Instruction: RTI). วารสารการวิจัยกาสะลองคำ. 10(2). 1-134.
จุฑาภัค มีฉลาด, ชนิดา มิตรานันท์ และประพิมพ์พงศ์ วัฒนะรัตน์. (2564). แนวทางการพัฒนาระบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือเพื่อแก้ปัญหาการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 9(3). 1283-1294.
ชนิศา ตันติเฉลิม. (2560). การตอบสนองต่อการช่วยเหลือ : หลักการ องค์ประกอบสำคัญและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติสำหรับส่งเสริมการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมในประเทศไทย. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 30(2), 187-227.
ชัญญาพัทธ์ ก้องวีรธาดาสิริ, พัชรินทร์ เสรี และวิมลทิพย์ มุสิกพันธ์. (2564). พฤติกรรมการรังแกในนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 52(1), 16-30.
ฐาปณีย์ แสงสว่าง, รัชฎา ทับเทศ, ฐิติพงศ์ ศุภวัฒน์ภัญโญ, อัญชัน โทนเดี่ยว และปิยพร แก้วภิรมย์. (2566). ความสามารถคิดบริหารจัดการตนเองของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ในห้องเสริมวิชาการ. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 13(2), 284-296.
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2563). การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : ตักสิลาการพิมพ์.
ประพิมพ์พงศ์ วัฒนะรัตน์. (2558). การช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนโดยรูปแบบ: RtI. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(1), 1-9.
ศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์. (2562). การตอบสนองต่อการช่วยเหลือ RtI: เครื่องมือสำคัญในการช่วยเหลือนักเรียนทุกคนในศตวรรษที่ 21. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 14(2), 17-26.
สถาบันราชานุกูล. (2555). คู่มือครูระบบการดูแลนักเรียนกลุ่มเด็กพิเศษที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: บียอนด์ พับลิชชิ่ง.
สิริพิชญ์ กฤษณา และวิชยา โยชิดะ. (2561). การใช้รูปแบบอาร์ทีไอในการพัฒนาเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้ด้านการอ่านและเขียนคำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นสำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 24(2). 224-236.
สิริลักษณ์ โปร่งสันเทียะ, สุวรรณ บุเหลา และเปรมวิทย์ ท่อแก้ว. (2564). กระบวนการคัดกรองเพื่อจัดการศึกษาสำหรับนักเรีนที่มีความต้องการพิเศษ. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 11(2). 103-112.
อัญชลี สารรัตนะ. (2563). อาร์ ที ไอ ระบบการตอบสนองต่อการสอนและการคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงบกพร่องทางการเรียนรู้และพฤติกรรม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Batshaw, M. L., Roizen, N. J., & Lotrecchiano, G. R. (2013). Seventh edition. Children with Disabilities. Chelsea, Michigan: Paul H. Brookes Publishing.
Boonaree, C; Goulding, A., & Calvert, P. (2017). Reading for Pleasure (RfP) and Literacy Problems in Thailand. TLA Research Journal, 10(2), 16-28. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/tla_research/article/view/105734/83888
Castro-Alonso, J.C., Ayres, P., Zhang, S., Koning, B.B., & Pass, F. (2024). Research Avenues Supporting Embodied Cognition in Learning and Instruction. Educational Psychology Review, 36(10), 1-30. https://doi.org/10.1007/s10648-024-09847-4
Fletcher, J. M., Reid Lyon, G., Fuchs, L. S., & Barnes, M. A., (2019). Learning Disabilities from Identification to Intervention. Second edition. New York : The Guilford Press.
Hudson, T. h., & McKenzie, R. G. (2016). The Impact of RTI on Timely Identification of Students with Specific Learning Disabilities. Learning Disabilities: A Multidisciplinary Journal, 21(2), 46-58. doi:10.18666/LDMJ-2016-V21-I2-7722
Karten, T, J. (2017). Developing Effective Learners RTI Strategies for Student Success. USA: Solution Tree Press.
Mariage, T., Englert, C., & Mariage, M. (2020). Comprehension Instruction for Tier 2 Early Learners: A Scaffolded Apprenticeship for Close Reading of Informational Text. Hammill Institute on Disabilities, 43(1), 29-42. https://doi.org/10.1177/0731948719861106
Roger, P., Smith, R, W., Buffum, A., Mattos, M. (2020). Best Practices at Tier 3: Intensive Interventions for Remediation Elementary. USA: Solution Tree Press.
Spear-Swerling, L. (2015). The Power of RTI and Reading Profiles A Blueprint for Solving Reading Problems. USA: Paul H. Brookes Publishing Co.
Viesel-Nordmeyer, N., Reuber, J., Kuhn, JT., Moll, K., Holling, H., & Dobel, C. (2023). Cognitive Profiles of Children with Isolated and Comorbid Learning Difficulties in Reading and Math: a Meta Analysis. Education Psychology Review, 35(34), 1-37. https://doi.org/10.1007/s10648-023-09735-3
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง