จากการสำรวจความคิดเห็นเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ด้านจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สู่การวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบการเข้าถึงปัญญา

Main Article Content

สรัญญา โชติรัตน์

Abstract

The objectives were to literature review and survey of opinions in access to create Pañña on the Cittānupassanā concept. It was a qualitative research by studying 19 documents and opinion surveyed from 40 samples. The results of the study were found that  1) The literature reviewing: 1) The Kind of research methodology had 14 topics (73.7%), the 4 types of quantitative research (21.1%), 1 story of mixed research (5.3%), 2) Study issues had 8 concepts as mental base development (30.4%), Cognitive intelligence had 2 stories (10.5%), Buddhist psychology had 2 stories (10.5%), Emotional intelligence had 3 stories (15.8%), the elderly had 1 story (5.3%), the mind and  dramas had 3 stories (15.8%).  2) The opinions survey in access to Pañña on the Cittānupassanā concept found that patterns  as follows: 1) the consciousness followed the knowing, the peaceful mind that could lead to Vipassanā, saw three characteristics, knew the dhamma according to the truth,  2)the mind practicing by focusing on their own breath in order to develop their awareness, put their mind to the consciousness that was the wisdom, 3) the pure mind by depending on practicing meditation that knower inside by mind was knower the compassion, the promise, and even the spirit., 4) the Mahāsatipattahāna IV, it was the mind practice instrument continuously, 5) the have one's heart on base on mind, the consciousness creating on the body with clearly consciousness 6) the mental practice by considering the moral Dhammānupassanā in order to observe mind, create wisdom and mental power.


 

Article Details

How to Cite
โชติรัตน์ ส. (2021). จากการสำรวจความคิดเห็นเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ด้านจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สู่การวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบการเข้าถึงปัญญา. MCU Haripunchai Review, 4(2), 1–17. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMHR/article/view/246526
Section
Research Article

References

ไกรฤกษ์ ศิลาคม และหัสดิน แก้ววิชิต. (2560). ผลของการเจริญสติแบบเคลื่อนไหวต่อสุขภาพจิต
และความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7 (1), 16-24.
ชลลดา ทองทวี. (2557) . ละคร: เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงภายใน แนวจิตตปัญญาศึกษา .
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 6 (1), 112-129.
ณรัฐวรรณ ถิระวราวิสิฐ และ นราพงษ์ จรัสศรี. (2561). การสร้างนาฏยศิลป์ตามแนวคิดสัมมาทิฏฐิ .
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 25(1), 33-47.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 18.
กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพโรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครั้งที่ 14.
กรุงเทพมหานคร :ธนธัชการพิมพ์ .
พระครูปลัดมารุต วรมงฺคโล. (2561). การศึกษาวิเคราะห์พุทธจิตวิทยาในพระไตรปิฎก.
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 6 (ฉบับพิเศษ), 25-34 .
พระเทพสิทธิมุนี และคณะ . (2561). วิเคราะห์หลักจิตนิยามในฐานะมโนสำนึกทางศีลธรรมสากล.
วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 14(2) , 29-42.
พระวรศักดิ์ จนฺทโชโต (โมกขสุทธิวงค์). 2554. การศึกษาจริต ๖ กับการรับรู้ความตาย : กรณีศึกษาผู้ปฏิบัติ
วิปัสสนากรรมฐาน วัดระฆังโฆสิตาราม. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 3 (1), 120-133.
พระชุมพล ฐิตธมฺโม (แก้วนวน). (2559). วิธีการพัฒนาจิตตามแนวกสิณในพระพุทธศาสนาเถรวาท.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 16(2), 241-250.
พระมหาประธาน ปริชาโณ. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องจิตกับกาย ในพุทธปรัชญาเถรวาท
กับปรัชญาของเรเน เดส์การ์ตส์. วารสารธรรมนิทรรศน์, 16(3), 39-46.
ชนาธิป ศรีโท. (2561). การปฏิบัติจิตภาวนาโดยใช้สติเป็นฐานตามแนวเทศนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ
(หลวงปู่บุญเพ็ง กปฺปโก). วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน, 15 (1), 89-100.
พระเทพสิทธิมุนี และคณะ . (2561). วิเคราะห์หลักจิตนิยามในฐานะมโนสำนึกทางศีลธรรมสากล.
วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,14( 2), 29-42.
สนิท สัตโยภาส. (2556). การใช้กระบวนวิชาจิตตปัญญาศึกษา (CONTEMPLATIVE STUDIES)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม อันพึงประสงค์แก่นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารพิฆเนศวร์สาร, 9(1), 1-9.
พระครูปลัดมารุต วรมงฺคโล. (2561). การศึกษาวิเคราะห์พุทธจิตวิทยาในพระไตรปิฎก.
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 6(ฉบับพิเศษ), 25-34 .
พัสมณฑ์ คุ้มทวีพ และ ประกอบ ผู้วิบูลย์สุข. (2556). เทปเสียงสู่จิตใต้สำนึกเพื่อลดอาการนอนไม่หลับของ
ผู้สูงอายุ การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุม .วารสารพยาบาลทหารบก, 14(3), 59-66.
ธนัชพร กิตติก้อง.(2561). การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนา
กรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong .
วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(1), 345-392.
ธรรมศักดิ์ กาญจนบูรณ์. (2560). โลกุตตรจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา
ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 24(2), 37-54.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
โย่ง ศรีเวียน และคณะ. (2561). การพัฒนาแบบประเมินเจตสิกปัจจัยเชิงทำนายบุคลิกภาพของผู้ปฏิบัติธรรม.
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 6 (ฉบับพิเศษ), 361-371.
สรัญญา โชติรัตน์. (2562). การวิเคราะห์รูปแบบการเข้าถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4
ด้านเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน. ใน ตระกูล ชำนาญ (บรรณาธิการ), การประชุมวิชาการระดับชาติ
“วิชาการล้านนาเพื่อการศึกษาและพัฒนา ยุค 4.0” ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 (หน้า 24-36).
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา .
สรัญญา โชติรัตน์. (2562). จากการสำรวจความคิดเห็นเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ด้านกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สู่การวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบการเข้าถึงปัญญา. ใน พระสุวรรณเมธาภรณ์ (บรรณาธิการ), การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2562 “นครน่าน : นครพระพุทธศาสนา มรดกธรรมสู่ มรดกโลก (หน้า 368-383). น่าน : วิทยาลัยสงฆ์น่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี .
สรัญญา โชติรัตน์. (2562). รูปแบบการเข้าถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4. รายงานผลการวิจัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร. จังหวัดเชียงใหม่ .
สรัญญา โชติรัตน์. (2558). การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์เรื่องมหาสติปัฏฐาน ๔ ของมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยระหว่างปีพุทธศักราช 2550-2555. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาพระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สรัญญา โชติรัตน์. (2561). การสังเคราะห์วรรณกรรมเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4. รายงานผลการวิจัย
ฉบับสมบูรณ์. สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ .
สามารถ สุขุประการ. (2561). อิทธิพลของจิตที่มีต่อวัตถุในพระพุทธศาสนาเถรวาท.
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 25(2), 29-48.
สมสิทธิ์ อัสดรนิธี และ สุปรียส์ กาญจนพิศศาล. (2561). การบ่มเพาะผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ของ
ชุมชนแอโก๋-แสนคำลือ ด้วยกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงแนวจิตตปัญญาศึกษา .
วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 26 (52) , 98-118.
สุเมธ บุญมะยา และพระมหาอดิเดช สติวโร . (2561). จิตวิทยาเชิงพุทธเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์.
วารสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,17 (1), 177-187.
สุดารัตน์ รัตนเพชร และคณะ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางจิตวิญญาณ สติ และความสุขตาม
แนวทางพุทธศาสนา .วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
8(1) , 79-101.