การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมแบบ Watthungbenja model เพื่อพัฒนาด้านผู้บริหาร ด้านข้าราชการครู ด้านบริหารสถานศึกษา ด้านสัมพันธ์ชุมชน ด้านผู้เรียน ในการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน วัดทุ่งเบญจา

Main Article Content

นิเวศน์ ชาติวุฒ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมโดยหลักยึดมั่นสัมพันธ์แบบ Watthungbenja model ผู้วิจัยใช้วิธีศึกษา 2 ลักษณะ ลักษณะแรก คือการศึกษาข้อมูลภาคสนาม โดยการใช้การศึกษาสัมภาษณ์และอภิปรายเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่มแบบเจาะจง (Focus group technique) ลักษณะที่สองเป็นการศึกษาเชิงปริมาณจากการใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นกับกลุ่มตัวอย่าง มีขั้นตอนการดำเนินการ 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาปัญหาการบริหาร ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดทุ่งเบญจา ระยะที่ 2 การสร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมโดยหลักยึดมั่นสัมพันธ์แบบ Watthungbenja model ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมโดยหลักยึดมั่นสัมพันธ์ ระยะที่ 4 การประเมินและปรับปรุงการใช้รูปแบบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จรรยารักษ์ โพธิ์ทองงาม. (2563). การพัฒนารูปแบบการนิเทศแบบ Stars Model เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูปฐมวัยตาม มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลนครราชสีมา. สำนักงานการศึกษาเทศบาลนครราชสีมา. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย.

บุญส่ง เจริญศรี. (2550). การศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรองผู้อำนวยการโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดนครราชสีมา เขต 1–17. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพิ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

โรงเรียนวัดทุ่งเบญจา. (2563). แผนปฎิบัติการโรงเรียนวัดทุ่งเบญจา. สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.

เสาวนีย์ เดือนเด่น และคณะ. (2558). การมีส่วนร่วมในการทำงานของบุคลากร. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สมยศ นาวีการ. ( 2562). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. สำนักพิมพ์บรรณกิจ 1991 จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก. กระทรวงศึกษาธิการ

Awalina, P., Saraswati, E., & Roekhudin. (2015). The influence of professional commitment and job satisfaction towards turnover intention. IOSR Journal of Business and Management 17(6),

-135.

Gulick & Urwick. (n.d., เมษายน 5). POSDCORB. https://bovisualize.wordpress.com.

Robbins, P. S., & Stuart-Kotze, R. (1990). Management. Prentice HalRohanie M.

Gibson, L. J., et al. (1997). Organization: Behavior, structure, process (9th ed.). Irwin

Cohen,J & Uphoff,N. (1980). “Participation ‘s place in rural development: Seeking clarity

through specificity”, World Development.

Meyer, J. P. and N. J. Allen. (1997). Commitment to organizations and occupations: extension and

test of a three – component conceptualization. Journal of Applied Psychology. 5(3), 87-100.

Campbell, Ronald F; et al. (1978). Introduction to Education Administration. (5th ed). London: Pitman.