ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจสั่งผลิต ผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลของ บริษัท เอสซีจีแกรนด์ จำกัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมต่อการตัดสินใจผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลของลูกค้า และเพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดต่อการตัดสินใจสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลผ่านสื่อดิจิทัลของบริษัทเอสซีจีแกรนด์จำกัด ผู้ศึกษาวิจัยรวบรวมแบบสอบถามที่สมบูรณ์จากกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 400 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ในการคำนวณค่าสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานทางสถิติวิเคราะห์การพยากรณ์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 25 – 45 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ต่อเดือนช่วง 100,001- 200,000 บาท และปัจจัยทางสังคม /จิตวิทยาต่อการตัดสินใจผลิตอาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัล พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ตัดสินใจสั่งผลิต ผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลของบริษัทเอสซีจีแกรนด์จำกัด เจ้าของแบรนด์ ธุรกิจขายตรง จากผู้ประกอบการ กลุ่มดารา / นักแสดง ผู้มีอิทธิพลบนสื่อโซเชียล Influencer และตัดสินใจสั่งผลิต ผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลของบริษัทเอสซีจีแกรนด์จำกัด มีวัตถุประสงค์ที่สั่งผลิต ผลิตอาหารเสริมสุขภาพเพื่อควบคุมน้ำหนัก มีเหตุผลที่สั่งผลิต ผลิตแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพเพราะความน่าเชื่อถือในตัวบริษัท โดยเฉลี่ยสั่งผลิตอาหารเสริมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยจำนวนเงินแต่ละครั้งไม่น้อยกว่า 300,000 บาท โดยตัดสินใจจากแหล่งสื่อ Facebookc เว็ปไซต์ และเยี่ยมชมกระบวนการผลิต ผลการทดสอบสมมติฐานโดยวิเคราะห์การพยากรณ์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจสั่งผลิต ผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลของของบริษัทเอสซีจีแกรนด์จำกัดระดับมาก เนื่องจากด้านผลิตภัณฑ์ ต้องมีมาตรฐานการรับรอง ISO .อ.ย. ฮาลาน รองลงมา ด้านช่องทางการติดต่อสามารถสนทนาหรือสอบถามข้อมูลแบบทันที ด้านการส่งเสริมการขายต้องมีการโฆษณาประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง และด้านราคาต้องมีบริการส่งฟรี เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีตัดสินใจสั่งผลิต ผลิตและสร้างแบรนด์อาหารเสริมสุขภาพผ่านสื่อดิจิทัลและเข้าการเยี่ยมชมของบริษัทเอสซีจีแกรนด์จำกัดอยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และ รุ่งทิวาชูทอง. (2565). การจัดการการตลาดและการตลาดดิจิทัลแหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้OTOP นวัตวิถีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดลตำบลสัมปทวน อำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม. วารสารสหวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 6(1), 120-135.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). พฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชันเฟซบุ๊กและไลน์ที่มีผลต่อการ ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์และบริการของนักท่องเที่ยว: กรณีศึกษาตลาดน้ำดอนหวายหลังสถานการณ์โควิด-19. วารสารการจัดการโซ่คุณค่าและกลยุทธ์ธุรกิจ, 1(2), 41-53.
ณัฐกาญจน์ ทิพย์รักษ์ และ รสิ ตาสังข์ บุญนาค. (2565). ส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองลูกค้าการรับรู้คุณค่าตราสินค้ารูปแบบการดำเนินชีวิตที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อกราโนล่าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมจร อุบลปริทรรศน์, 7(3), 661-672.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การจัดการการตลาดและสื่อสังคมออนไลน์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้ OTOP นวัตวิถีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดลตำบลสัมปทวนอำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(3), 101-115.
กรัณย์พัฒน์ อิ่มประเสริฐ. (2565). การใช้เครื่องมือการตลาดดิจิทัลเพื่อให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้าง่ายขึ้น. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(1), 1-15.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). คุณภาพการให้บริการของธุรกิจรับผลิตอาหารเสริมครบวงจรในอำเภอเมืองสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารรัฐศาสตร์สาส์นมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (Online), 1(2), 41-51.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และ ชัยวิชญ์ม่วงหมี. (2565). การพัฒนาการให้บริการของสหกรณ์ ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำกัด. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 3(2), 42-50.
มยุรา ธรรมวัฒนากุล และ ธัญนันท์ บุญอยู่. (2565). อิทธิพลของนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคอาหารเสริมเพื่อ สุขภาพในเขตกรุงเทพมหานครโดยมีแรงจูงใจเป็นปัจจัยกำกับ. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 5(3), 85-99.
กฤติน ขันละ และ ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2565). องค์ประกอบด้านอวัจนภาษากับความเป็นผู้หญิงในโฆษณาออนไลน์ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อ สุขภาพสำหรับผู้หญิง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10(2), 171-197.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). แนวทางการจัดการการตลาดสำหรับธุรกิจรับผลิตอาหารเสริมครบวงจรในอำเภอเมือง สมุทรสาคร. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(2), 161-174.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และคณะ. (2563). ลักษณะ องค์การที่เป็นเลิศที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, 12(1), 30-45.
กรสรรค์ เอนกศักยพงศ์ และ เนตร์พัณ ณายาวิราช. (2557). กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อปะสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน. RMUTT Global Business and Economics Review, 9(2), 16-26.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). การวิเคราะห์สถิติเพื่อการตัดสินใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2561). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. (พิมพ์ครั้งที่ 6). บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี
ธนพล วีราสา และ เพชรรัตน์ มานะสมจิตร. (2565). แผนธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากสารสกัดเมล่อนด้วยเทคโนโลยีการผลิตฟาร์อินฟาร์เรดเพื่อการชะลอวัย. [วิทยนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพิ์]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
นัทธมน เดชประภัสสร. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทาง อินเทอร์เน็ต. [ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพิ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นาฏอนงค์ นามบุดดี. (2558). อนาคตของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและการปรับกลยุทธ์การตลาดในไทย. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(1), 353-374.
เปรมจิต ตังสกุล. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
พลวัฒน์ เศรษฐนุรักษ์. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
รุ่งนภา สิงห์สถิต. (2559). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
วงศ์เดือน หุ่นทอง. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
Kotler, P. and Keller, K. L. (2012). Marketing Management. (13th ed). Prentice Hall.