ทักษะการใช้งานเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อความพร้อมในการใช้งาน RPA (ระบบอัตโนมัติของกระบวนการหุ่นยนต์) ของสำนักงานบัญชี ในภาคกลาง

Main Article Content

พงษ์ไพโรจน์ นิ่มสังข์
พรทิวา แสงเขียว

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของทักษะการใช้เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อความพร้อมในการใช้งาน RPA (Robot Process Automation) ของสำนักงานบัญชีภาคกลาง ตัวอย่างสำหรับงานวิจัยนี้เป็นสำนักงานบัญชีในภาคกลาง จำนวน 400 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณเพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการวิจัยพบว่าด้านทักษะความสามารถในการใช้โปรแกรมบัญชีและโปรแกรมทางธุรกิจ ทักษะการค้นหาข้อมูลทางบัญชีและภาษีที่เกี่ยวกับธุรกิจ ทักษะการใช้เครื่องมือดิจิทัลในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทางบัญชีส่งผลเชิงบวกต่อความพร้อมในการใช้ RPA (Robot Process Automation) สำนักงานบัญชี ด้านต้นทุนของสำนักงานบัญชี ด้านวัฒนธรรมองค์กรของสำนักงานบัญชี ด้านการสร้างความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ด้านการปฏิบัติงานบัญชี และด้านการยอมรับของบุคลากร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01

Article Details

How to Cite
นิ่มสังข์ พ. ., & แสงเขียว พ. (2024). ทักษะการใช้งานเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อความพร้อมในการใช้งาน RPA (ระบบอัตโนมัติของกระบวนการหุ่นยนต์) ของสำนักงานบัญชี ในภาคกลาง. วารสารนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน, 7(1), 1–15. https://doi.org/10.14456/jsmt.2024.1
บท
บทความวิจัย

References

กานดา แซ่หลิว. (2560). ศักยภาพทางการบัญชีมีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีในจังหวัดสมุทรปราการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ชนันธร ศรนุรักษ์. (2563). การประยุกต์ใช้ระบบซอฟต์แวร์อัตโนมัติในหน่วยงานสนับสนุน เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันในธุรกิจธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษา ธนาคารเอบีซีสายงานปฏิบัติการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2562, 25 มกราคม). นักบัญชียุคใหม่ คู่คิดซีอีโอฝ่าทุกกระแสดิสรับชั่น เทคโนโลยี.https://www.salika.co›reskill-upskillaccountant-fight-disruption.

ดินทร์ ชาตะเวที. (2563, 30 ตุลาคม). พฤติกรรมกับชีวิตวิถีใหม่ : New Normal.https://www.ttmed.psu.ac.th/th/blog/258

พัชรินทร์ ใจเย็น และคณะ. (2560). นักบัญชีกับเทคโนโลยียุคปัจจุบัน. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 3(1), 196 – 207.

ธรารินทร์ ใจเอื้อพลสุข. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล. (2563, 13 กรกฎาคม). ทักษะและเทคโนโลยีที่สำคัญสำหรับนักบัญชีบริหาร.https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126283.

ธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล และ สภาวิชาบัญชีบัญชี ในพระบรมราชูปถัมถ์. (2563, 30 ตุลาคม). ทักษะและเทคโนโลยีที่สำคัญสำหรับนักบัญชีบริหาร. https://www.tfac.or.th/Article/Detail/123469.

ราชิต ไชยรัตน์. (2563, 30 ธันวาคม). บทบาทนักบัญชีในโลกอนาคตจากนักบัญชี สู่นักบัญชีนวัตกร.https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126212.

สิทธิชัย ทรัพย์แสนดี, & ดารณี เอื้อชนะจิต. (2021). การบริหารสำนักงานบัญชีดิจิทัลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีดิจิทัลในประเทศไทย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10), 125-140.

สุพัตรา หารัญดา.(2563). คุณลักษณะนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสำนักงาน บัญชีคุณภาพในประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 13(2), 240-253.

สาคร สุขศรีวงศ์. (2558). การจัดการ : จากมุมองนักบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 13). บริษัท จี.พี.ไซเบอร์พรินท์ จำกัด.

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร. (2561). Tax Accounting.การบัญชีภาษีอากรฉบับประยุกต์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). บริษัท ธรรมนิติ เพรส จำกัด.

ศิริกัญญา ตันสกุล. (2565, 30 ตุลาคม). ย้ำอีกครั้ง นโยบายแรงงานก้าวไกล ขึ้นทันที 450 บาท ของแถมอีกเพียบ! https://www.moveforwardparty.org/article/15982/

วันรวี จันทร์แต่งผล. (2561). การสำรวจการยอมรับของพนักงานในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงาน บริหารทรัพยากรบุคคล กรณีศึกษา ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน). [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วัทธยา พรพิพัฒน์กุล. (2563, 14 กรกฎาคม). นักบัญชีบริหารในยุคดิจิทัล.https://www.tfac.or.th/Article/Detail/123469

Anagnoste, S. (2017). Robotic Automation Process-The next major revolution in terms of back-office operations improvement. In Proceedings of the International Conference on Business Excellence (pp. 676-686).

Al Shanti, A. M., & Elessa, M. S. (2023). The impact of digital transformation towards blockchain technology application in banks to improve accounting information quality and corporate governance effectiveness. Cogent Economics & Finance, 11(1), 21-61.

Davis, F. (1985). A technology acceptance model for empirically testing new end-user

information systems: theory and results. [Unpublished doctoral dissertation]. MIT Sloan School of Management Cambridge MA.

Fernandez, D., & Aman, A. (2021). The influence of robotic process automation (Rpa) towards employee acceptance. International Journal of Recent Technology and Engineering, 9(5), 295-299.

Huang, F., & Vasarhelyi, M. A. (2019). Applying robotic process automation (RPA) in auditing: A framework. International Journal of Accounting Information Systems, 35(1), 100-133.

Mukwarami, S., Nkwaira, C., & van der Poll, H. M. (2023). Environmental Management Accounting Implementation Challenges and Supply Chain Management in Emerging Economies Manufacturing Sector. Sustainability, 15(2), 1061.

Yamane, T., (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rdEd). Harper and Row Publications.

Zeithaml, V. A. &Bitner, M. J. (2003). Services Marketing: Integrating customer focus across the firm (3rd Ed). McGraw-Hill Irwin.

Zebua, S. U. L. I. N. A., & Widuri, R. I. N. D. A. N. G. (2023). Analysis Of Factors Affecting Adoption Of Cloud Accounting In Indonesia. Journal of Theoretical and Applied Information Technology, 10(1), 89-105.