การประยุกต์ใช้กฎความสัมพันธ์เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงการออกกลางคันของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้กฎความสัมพันธ์เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงการออกกลางคันของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยข้อมูลที่นำมาสร้างกฎความสัมพันธ์รวบรวมมาจากงานทะเบียน กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งประกอบด้วย 1) ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาศึกษาทั่วไป 2) ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาเฉพาะ และ 3) จังหวัดของสถาบันการศึกษาที่นักศึกษาจบการศึกษาก่อนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2553- 2556 ข้อมูลชุดนี้ถูกนำมาสร้างกฎความสัมพันธ์ โดยใช้อัลกอรึทึม Apriori ด้วยโปรแกรม Weka ผลการวิจัยพบว่ากฎความสัมพันธ์ที่ได้จากอัลกอริทึม Apriori มีค่าความเชื่อมั่นของกฎมากกว่า 90%
Article Details
วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา (JSSE) เป็นผู้ถือลิสิทธิ์บทความทุกบทความที่เผยแพร่ใน JSSE นี้ ทั้งนี้ ผู้เขียนจะต้องส่งแบบโอนลิขสิทธิ์บทความฉบับที่มีรายมือชื่อของผู้เขียนหลักหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจแทนผู้เขียนทุกนให้กับ JSSE ก่อนที่บทความจะมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวารสาร
แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
ทางวารสาร JSSE ได้กำหนดให้มีการกรอกแบบโอนลิขสิทธิ์บทความให้ครบถ้วนและส่งมายังกองบรรณาธิการในข้อมูลเสริม (supplementary data) พร้อมกับนิพนธ์ต้นฉบับ (manuscript) ที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ ทั้งนี้ ผู้เขียนหลัก (corresponding authors) หรือผู้รับมอบอำนาจ (ในฐานะตัวแทนของผู้เขียนทุกคน) สามารถดำเนินการโอนลิขสิทธิ์บทความแทนผู้เขียนทั้งหมดได้ ซึ่งสามารถอัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) และไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนู “Upload Submission” ดังนี้
1. อัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) ในเมนูย่อย Article Component > Article Text
2. อัพโหลดไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนูย่อย Article Component > Other
ดาวน์โหลด ไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
References
ณัฐธิดา สุวรรณโณ และอันธิกา สิงห์เอี่ยม. (2554). การหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงของนักศึกษาเรียนอ่อนด้วยเทคนิคกฎความสัมพันธ์. วารสารวิทยาการจัดการ, 28, 65-79.
เพชร์พะเยาว์ แย้มยินดี สมหมาย อ่ำดอนกลอย และนงลักษณ์ ใจฉลาด. (2556). การศึกษาสาเหตุของการเสี่ยงออกกลางคันของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎภาคเหนือ, 3(5), 1-14.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2558). การทำเหมืองข้อมูล. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์.
สุมิตรา นวลมีศรี. (2558). การออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานและเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์แบบผสมผสาน. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2, 159-72.
อัครนันท์ เตชไกรชนะ. (2556). การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2561. จาก GoToKnow: https://www.gotoknow.org/posts/285169
เอกกวีร์ พิทักษ์ธนัชกุล. (2557). การศึกษาในโลกยุคปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2561. จาก ฝ่ายบริการเผยแพร่ทางไกล สำนักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช: https://www.stou.ac.th/study/sumrit/1-58(500)/page9-1-58(500).html
Jyoti, A., Nidhi, B. and Sanjeev, R. (2013). A review on association rule mining algorithms. International Journal of Innovative Research in Computer and Communication Engineering, 1(5), 1246-1251.
Pooja, R. G., Shailesh, D. K., Nileshsingh, V. T. and Akshay, S. P. (2017). Evaluation of Apriori Algorithm on Retail Market Transactional Database to get Frequent Itemsets. In Proceedings of the Second International Conference on Research in Intelligent and Computing in Engineering (pp 187–192). March 24–26, 2017. Gopeshwar, Uttrakhand, India: Polish Information Processing Society.