การสาธิตกระบวนการสร้างภาพของฟังก์ชันโดยวิธีของพิกัดทรงกระบอก

Main Article Content

พัชรี วงษาสนธิ์
สุพจน์ สีบุตร

บทคัดย่อ

ในงานนี้จะสาธิตกระบวนการสร้างภาพของวัตถุโดยยกตัวอย่างสองตัวอย่าง โดยการจำลองนี้วัตถุนี้จะบรรจุอยู่ในสิ่งปิดที่ไม่สามารถเปิดได้ และจะใช้รังสีที่มีจุดกำเนิดบนเส้นโค้งที่ล้อมรอบสิ่งปิดนั้น  ในทางคณิตศาสตร์วัตถุคือฟังก์ชันค่าจริงในสามมิติ  สิ่งปิดคือเซตซึ่งมีซัพพอร์ทเป็นเซตกระชับในสามมิติ และจุดกำเนิดรังสีคือเส้นโค้งซึ่งคือ   เฮลิกซ์ หรือเส้นโค้งอื่นๆ ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ทำให้สามารถสร้างภาพได้ และเส้นรังสีคืออินทิกรัลตามเส้นที่มีจุดเริ่มต้นที่จุดกำเนิดรังสี  กระบวนการที่ใช้จะใช้พิกัดทรงกระบอกในการหาภาพของฟังก์ชัน ผลที่ได้จะแสดงกระบวนการสร้างระหว่างสองตัวอย่างและการเปรียบเทียบ

Article Details

บท
บทความวิจัยทางวิทยาศาสตร์

References

Grangeat, P. (1991). Mathematical framework of cone beam 3D reconstruction via the first derivative of the radon transform (pp 66-97). In G. T. Herman, A. K. Louis and F. Natterer (Eds.), Mathematical Methods in Tomography (Vol. 1497). Berlin, Heidelberg: Springer.

Kak, A. and Slaney, M. (1999). Principles of Computerized Tomographic Imaging. Classics in Applied Mathematics. Philadelphia: IEEE Press.

Katsevich, A. (2002). Analysis of an exact inversion algorithm for spiral cone-beam CT. Physics in Medicine and Biology, 47(15), 2583-2598.

Katsevich, A. (2004). An improved exact filtered Backprojection algorithm for spiral computed tomography. Advances in Applied Mathematics, 32(4), 681-697.

Thongsri, P., Wongsason, P. and Seebut, S. (2018). 3D cone beam reconstruction formula by using cylindrical coordinate. In Proceeding of Annual meeting in Mathematics 2018 (pp. 41-43). May 3-5 2018, Bangkok.

Tuy, H. K. (1983). An inversion formula for cone-beam reconstruction. SIAM Journal on Applied Mathematics, 43(3), 546-552.