การออกแบบกิจกรรมสะเต็มศึกษาเรื่องสมบัติทางความร้อนของสสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
เนื่องจากความอยากรู้อยากเห็นของเด็กในวัยเยาว์ ช่วงเวลาของการเรียนระดับประถมศึกษาจึงเป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดสำหรับการเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังความสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ออกแบบและใช้กิจกรรมสะเต็มศึกษาที่เกี่ยวกับสมบัติทางความร้อนของสสารกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องสมบัติทางความร้อน โดยหลักใหญ่เป็นการขยายตัวของสสารในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทัศนคติของนักเรียนต่อวิทยาศาสตร์ไปพร้อมกันโดยผ่านทางสะเต็มศึกษา กิจกรรมที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ การขยายตัวของแก๊สในลูกโป่งเมื่อได้รับความร้อน การขยายตัวของน้ำในขวดรูปกรวยเมื่อได้รับความร้อน และการขยายตัวของตะปูเหล็กและรูบนแผ่นโลหะเมื่อได้รับความร้อน ผู้วิจัยใช้กิจกรรมเหล่านี้เพื่อให้ฝึกนักเรียนชั้นประถมศึกษาใช้ความรู้และทักษะมาใช้ในการสร้างเทอร์โมมิเตอร์จากหลอดกาแฟ ในระหว่างบทเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น หลังจากที่เข้าร่วมกิจกรรมแล้ว ผลการสำรวจความพึงพอใจแสดงให้เห็นว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนและครูอยู่ในระดับสูง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา (JSSE) เป็นผู้ถือลิสิทธิ์บทความทุกบทความที่เผยแพร่ใน JSSE นี้ ทั้งนี้ ผู้เขียนจะต้องส่งแบบโอนลิขสิทธิ์บทความฉบับที่มีรายมือชื่อของผู้เขียนหลักหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจแทนผู้เขียนทุกนให้กับ JSSE ก่อนที่บทความจะมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวารสาร
แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
ทางวารสาร JSSE ได้กำหนดให้มีการกรอกแบบโอนลิขสิทธิ์บทความให้ครบถ้วนและส่งมายังกองบรรณาธิการในข้อมูลเสริม (supplementary data) พร้อมกับนิพนธ์ต้นฉบับ (manuscript) ที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ ทั้งนี้ ผู้เขียนหลัก (corresponding authors) หรือผู้รับมอบอำนาจ (ในฐานะตัวแทนของผู้เขียนทุกคน) สามารถดำเนินการโอนลิขสิทธิ์บทความแทนผู้เขียนทั้งหมดได้ ซึ่งสามารถอัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) และไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนู “Upload Submission” ดังนี้
1. อัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) ในเมนูย่อย Article Component > Article Text
2. อัพโหลดไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนูย่อย Article Component > Other
ดาวน์โหลด ไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
References
Baber, L., Graham, E., Taylor, J. L., Reese, G., Bragg, D. D., Lang, J., & Zamani-Gallaher, E. M. (2015). Illinois STEM College and Career Readiness: Forging a Pathway to Postsecondary Education by Curbing Math Remediation. In Brief. Office of Community College Research and Leadership. Retrieved 24 November 2024, https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED558789.pdf
Bada, S. O., & Olusegun, S. (2015). Constructivism learning theory: A paradigm for teaching and learning. Journal of Research & Method in Education, 5(6), 66-70. Retrieved 24 November 2024, https://iosrjournals.org/iosr-jrme/papers/Vol-5%20Issue-6/Version-1/I05616670.pdf
Baser, M., & Geban, Ö. (2007). Effectiveness of conceptual change instruction on understanding of heat and temperature concepts. Research in Science & Technological Education, 25(1), 115–133.
Basile, V., & Lopez, E. (2015). And Still I See No Changes: Enduring Views of Students of Color in Science and Mathematics Education Policy Reports. Science Education, 99(3), 519-548. Retrieved 24 November 2024, from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/epdf/10.1002/sce.21156
Brown, J. (2012). The current status of STEM education research. Journal of STEM Education: Innovations and Research, 13(5), 7-11. Retrieved 24 November 2024, from https://www.jstem.org/jstem/index.php/JSTEM/article/view/1652/1490
Clayton, Glen T., Harry D. Downing, and Thomas O. Callaway (1982). Physical science workshop course for elementary teachers. Retrieved 20 November 2024, from https://scholarworks.sfasu.edu/physicsandastronomy_facultypubs/11/
Hitt, A. M., & Townsend, J. S. (2015). The heat is on! using particle models to change students' conceptions of heat and temperature. Science Activities, 52(2), 45-52.
Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). Announcement on 2022 PISA Results, Retrieved 1 October 2024, from https://pisathailand.ipst.ac.th/news-21/.
Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). Primary Science 4 Vol 2 (in Thai), 2019.
Kolb, D. A. (1984). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. New Jersey, NJ: Prentice-Hall.
Ministry of Education, Basic education core curriculum, AD. 2008 revised 2017 (English version). Retrieved 1 October 2024 from http://academic.obec.go.th/web/document/view/113
Office of the Basic Education Commission (OBEC), Retrieved 24 October 2024 from https://sesa.obec.go.th/index.php?name=project&file=detail&id=793
Owens, T. M. (2009). Improving science achievement through changes in education policy. Science Educator, 18(2), 49-55.
P21 Framework definition, Appendix B. (2015). Retrieved 1 October 2024, from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED519462.pdf
Sanders, M. (2009). Integrative STEM education: primer. The Technology Teacher, 68(4), 20-26.
Slavin, Robert E., (2018). Educational Psychology: Theory and Practice 12th Edition, Pearson, NY.
Williams, M. K. (2017). John Dewey in the 21st century. Journal of Inquiry and Action in Education, 9(1), 7.
Wanapop, M., Chaboo, W., (2021). Action research to develop problem-solving skills with creativity-based learning on physical properties of materials for primary 4 students (in Thai). Proceedings of National & International Conference 14 (2), 99.