การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ผ่านรายการพอดคาสต์

ผู้แต่ง

  • พิจักษณ์ ภู่ตระกูล วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การสังเคราะห์, การบริหารทรัพยากรมนุษย์, พอดคาสต์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ผ่านพอดคาสต์ โดยข้อมูลที่ใช้ในการสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านภาวะผู้นำประกอบด้วยรายการจากพอดคาสต์จำนวน 14 รายการผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม QDA Miner  ผลการศึกษาพบว่าข้อควรปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์นั้นจำเป็นต้องพัฒนาตนเองมากที่สุด การทำงานด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบันให้ความสำคัญอย่างมากกับเรื่องการพัฒนาและเพิ่มทักษะ หน้าที่ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์มีประเด็นที่เกี่ยวข้องมากที่สุดคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในการบริหารทรัพยากรมนุษย์มากที่สุด ได้แก่ เรื่องเจเนอเรชั่น สำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระดับมหภาค ได้แก่ การที่มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งพัฒนาบุคลากรของประเทศ

References

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2554). การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มมูลค่า. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2562). การศึกษาระบบการบริหารคนเก่งภาครัฐที่มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของคนเก่ง กรณีศึกษา: ข้าราชการในระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงของสำนักงาน ก.พ. ใน รายงานการวิจัย คณะรัฐประศาสนศาสตร์. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ณภัทร สงวนแก้ว.(2563). การพัฒนาทักษะที่มีอยู่ (Reskilling) และเสริมทักษะใหม่ (Upskilling). เรียกใช้เมื่อ 8 ธันวาคม 2564, จาก https://th.hrnote.asia/hrinsight/exclusive-interview-with-gallup/

อานวัฒน์ บุตรจันทร์. (2552). ผลของการสอนเสริมด้วยพอดคาสต์โดยใช้กลวิธีในการกำกับตนเอง ในรายวิชาการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการกำกับตนเอง ของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). ข้าราชการไทยกับการขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0. เรียกใช้เมื่อ 8 มิถุนายน 2564, จากhttps://www.ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/page/civil_officer_th_4.0.pdf.

Brack, J. & Kelly, K. (2012). Maximizing millennials in the workplace. UNC executive development. Retrieved from https://www.kenan-flagler.unc.edu/executive-development/customprograms/~/media/files/documents/executivedevelopment/maximizing-millennials-in-the-workplace.pdf

Geoghegan, Michael,W., Klass, Dan. (2007). Podcast Solutions: The Complete Guide to Audio and Video Podcasting. USA: Friendsof OR SEC ED.USA.APRESS.

Hartford Business. (2014). summer. Millennials to take over by 2025. [online URL; https://www.hartfordbusiness.com/article/millennials-to-take-over-by-2025] accessed on August 18,2020.

Storey, John; Ulrich, Dave and Wright, Patrick M. (2019). Strategic Human Resource Management: A Research Overview. State of the Art in Business Research. London: Routledge.

Tripathi, A. and Dhir, S. (2022). HRD interventions, learning agility and organizational innovation: a PLS-SEM modelling approach, International Journal of Organizational Analysis, Vol. ahead-of-print No. ahead-of-print.

Vieira da Cunha, Joao & Antunes, Anabela. (2022). Leading the self‐development cycle in volunteer organizations. European Management Review. 10.1111/emre.12501.

World Economic Forum (WEF), (2020), The Future of Jobs Report 2020 and Global Competitiveness Report 2020 (CGI).

Zimmerling, A. and Chen, X. (2021). Innovation and possible long-term impact driven by COVID-19: manufacturing, personal protective equipment and digital technologies, Technology in Society, 65, 101-541.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30