การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์แบบบูรณาการอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา โหล่งฮิมคาว อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • วิลาวรรณ พิศแสวง มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • ชนิษฐา ใจเป็ง มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การพัฒนา, การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์, โหล่งฮิมคาว

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์แบบบูรณาการอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา โหล่งฮิมคาว อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นชุมชนที่มีแนวคิดในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น และการจัดการชุมชนที่สร้างสรรค์งานหัตถกรรม ธรรมชาติ ภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ความเป็นล้านนา รวมถึงการเปิดชุมชนให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาสัมผัสศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวโหล่ง ฮิมคาว ผ่านกิจกรรม workshop และมีการจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบบูรณาการอย่างยั่งยืนของชุมชน โดยคำนึงถึงความสมดุลทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). สถานการณ์การท่องเที่ยวปี 2561 และแนวโน้มปี 2562. เรียกใช้เมื่อ 15 พฤษภาคม 2566 https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11273.

กฤษณ อร่ามศรี, จันทร์ธิมา สมศักดิ์, ณัชชา วีรวัฒนโยธิน และ อําพร กันทา. (2563). ความสุขของการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านมอญ อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม่.วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(3), 640 – 648

จุฑามาศ คงสวัสดิ์. (2550). การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชนิษฐา ใจเป็ง. (2563). ตีพิมพ์ แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้ทุนทางสังคม : กรณีศึกษาชุมชนนครชุมกำแพงเพชร. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 30(1), 26-38

ชนัญ วงษ์วิภาค. (2559). การจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยว หน่วยที่ 13. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

ธนาวดี ปิ่นประชานันท์, ชมพูนุท ภาณุภาส และจุฑาธิปต์ จันทร์เอียด 2022 การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์อูรักลาโวยจ ในพื้นที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่. วารสารศิลปการจัดการ, 6(3), 1348-1368.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: เพรส แอนด์ ดีไซน์.

พยอม ธรรมบุตร. (2560). เอกสารประกอบการเรียนการสอนเกี่ยวกับองค์ประกอบของการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา.

พยอม ธรรมบุตร. (2562). แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนพื้นฐานอัตลักษณ์และวิถีไทย แบบบูรณาการอย่างยั่งยืนในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 13(3), 65-75

พวัสส์ อัครพัฒน์กำชัย และคณะ.(2566) การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และการกำหนดเส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเสน่ห์วิถีชีวิตเมืองกรุงเก่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วารสารรัชต์ภาคย์, 17(50), 92-104

ภัทรพงศ์ อินทรกำเนิด และคณะ. (2553). รายงานการวิจัยเรื่องระบบนวัตกรรมรายสาขาเพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานความรู้และเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบานด้านการศึกษามหภาค สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

ภูริวัจน์ เดชอุ่ม. 2556. การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรอบแนวคิดสู่แนวทางปฏิบัติสำหรับประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย 33(2), 329-364

รุ่งรดิศ เมืองลือ และพะยอม ธรรมบุตร. (2560). แผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบบูรณาการอย่างยั่งยืน ในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(2), 162-181.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2557). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อรอุมา เตพละสกุล และนาฬิกอติภัค แสงสนิท. (2555). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : การรับรู้ของนักท่องเที่ยวความ พร้อมของเจ้าของกิจกรรม และความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย. เรียกใช้เมื่อ 30 พฤษภาคม 2566 จากhttp://www.dasta.or.th.

อารีย์ นัยพินิจ. (2557). “การปรับตัวภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา, 7,(1).

อภินันท์ จันตะนี. (2550). สถิติและการวิจัยทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

Breugel, V. L. (2013). Community-based tourism: Local Participation and Perceived Impacts a Comparative Study between Two-Communities in Thailand. (Master Social and Cultural Science). Radboud University Nijmegen, Netherlands. Available from www.ru.nl/nisco/thesis-msc-students

Designated Areas for Sustainable Tourism Administration Public Organization. (2020). Community based tourism development criteria. Designated Areas for Sustainable Tourism Administration Public Organization.

Richards, G. (2005). “Creativity: A new strategic resource for tourism?.” In Tourism, E.(ed) Investigation a strategic tourism, 107-122. Madrid: Thomson.

Russo, P. (2002). “The vicious circle of tourism development in heritage cities.” Annuals of Tourism Research 29, 1: 165-182.

Richards, G., & C. Raymond. (2000). “Creative tourism.” ATLAS News 23: 16–20

Richards, G. (2010). “Creative Tourism and Local Development.” In: Wurzburguer, R. et al, (eds.) Creative Tourism. A Global Conversation, How to Provide Unique creative experiences for Travelers Worldwide Sunstone Press, Santa Fe, New Mexico, 78-90.

Suttipisan, S. (2013). Adaptive Uses of Local Textiles for Creative Tourism Product Development in Thailand. International Journal of Cultural and Tourism Research, 6(1), 47-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-29