มาตรการการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันอาชญากรรม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง

ผู้แต่ง

  • พรรณนิภา น้อยพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

Measures of operation, In the situation of the outbreak of coronavirus disease 2019, Police officers, Crime prevention

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันอาชญากรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019
2) เพื่อศึกษาทัศนะของเจ้าหน้าที่ตำรวจ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการป้องกันอาชญากรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 และ 3) เพื่อศึกษามาตรการของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันอาชญากรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ประกอบด้วย จากเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง ชั้นประทวนและชั้นสัญญาบัตร โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 118 นาย ผู้บังคับบัญชาระดับผู้กำกับการ – รองผู้กำกับการสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 นาย และประชาชนในชุมชนท่าเตียน โดยเป็นการสนทนากลุ่ม จำนวน 5 คน

          ผลการศึกษาพบว่า 1) ลักษณะการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันอาชญากรรมแต่ละสายงานมีความแตกต่างกันออกไปจึงมีความเสี่ยงในการได้รับเชื้อแตกต่างกัน โดยเฉพาะสายงานป้องกันปราบปราม สายงานสอบสวน และสายงานสืบสวน  2) ทัศนะของเจ้าหน้าที่ตำรวจ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการป้องกันอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่าง มีระดับความคิดเห็นสายงานป้องกันปราบปราบ ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 4.16 สายงานอำนวยการ ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 4.06 สายงานจราจร ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 4.06 สายงานสอบสวน ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 4.24 และสายงานสืบสวน ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 4.14
3) มาตรการของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นประเด็นด้านการประสานงาน ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 3.90 ด้านการบังคับบัญชา ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 3.81 ด้านการสื่อสาร ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 3.93 และด้านอุปกรณ์ ระดับเห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 3.94

 

References

หนังสือ

พงษ์กฤษณ์ มงคลสินธุ์. (2557). การวิจัยทางด้านกระบวนการยุติธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พเยาว์ ศรีแสงทอง. (2555). การลงโทษและการแก้ไขผู้กระทำผิด (Punishment and Correction).

กรุงเทพฯ : บริษัทจามจุรีโปรดักส์.

รัตนะ บัวสนธ์. (2555). วิธีการเชิงผสมผสานสำหรับการวิจัยและประเมิน. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดุลย์ ณรงค์ศักดิ์ ปรีดา เปี่ยมวารี สุมนทิพย์ จิตสว่าง. (2559). จริยธรรมในวิชาชีพตำรวจ =Ethics of the

police profession. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.

บทความวารสาร

กุณฑสูติ อรุณสุดา. “แนววินิจฉัยของศาลฎีกาเกี่ยวกับการสอบสวนที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย.” วารสารบัณฑิต

ศึกษานิติศาสตร์ 14, ฉ. 2 (2564): 190-212.

กลุ่มงานอาจารย์ ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 8 (2562). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและ

ปราบปรามอาชญากรรม ศึกษากรณีสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี. ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจ

ภูธรภาค 8.

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกัน และปราบปรามอาชญากรรม ในเขตพื้นที่เทศบาลเมือง

อ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565.

http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/59920390.pdf

ยุวดี วงศ์วีระประเสริฐ. “ความหมายและแนวทางการศึกษาความปลอดภัยสาธารณะ.” วารสารธรรมศาสตร์

, ฉ. 1 (2561): 110-122.

สิทธิพงษ์ ศรีเลอจันทร์. “บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนกับการป้องกันอาชญากรรมในชุมชน.” วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ.

วิทยานิพนธ์

กฤตวรรณ เผือกโสมณ. (2563). การมีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรมของประชาชนในเทศบาลนคร

หาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชารัฐศาสตร์, ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.

นพวรรณ ปรากฏวงศ์ .(2559). ทัศนะของนักศึกษาต่อการคุกคามทางเพศในสถานศึกษา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เบญจรัตน์ แก้วประพันธ์. (2564). ความคิดตำรวจไทยในสถานการณ์ความ ขัดแย้งทางการเมือง (พ.ศ. 2563-พ.ศ.2564). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พริญญา ศรีเรือง. (2559). การออกแบบความร่วมมือในการป้องกันอาชญากรรมในเขตพื้นที่สถานี ตำรวจภูธรเมืองปทุมธานี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พลภัทร เทพสุวรรณ. (2558). ทัศนะของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายงานป้องกันและปราบปรามสถานีตำรวจภูธรคอ หงส์และสถานีตำรวจภูธรหาดใหญ่: กรณีการถอดพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติดประเภทที่ 5. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาคภูมิ ทับเคลียว. (2558). สถานีตำรวจภูธรเมืองปทุมธานีกับการป้องกันเหตุ วิวาทของนักศึกษาต่างสถาบัน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยงยุทธ อาจกมล. (2559). การป้องกันอาชญากรรมและการดูแลความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ในพื้นที่เกาะ

เมืองอยุธยา. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, สาขาวิชา

การเมืองการปกครอง สำหรับนักบริหาร.

เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร (2559). “การมีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัย

ราชภัฎมหาสารคาม ในเขตพื้นที่สถานีตํารวจภูธรเมืองมหาสารคาม.” มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาสารคาม.

อิสเรศ เลิศวิไล. (2565). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกัน และปราบปรามอาชญากรรม ในเขตพื้นที่ เทศบาลเมืองอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย บูรพา, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม.

อภิรัฐ ขานไข. (2558). ข้อเสนอทางนโยบายมาตรการป้องกันอาชญากรรมในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานี ตำรวจภูธรเมืองปทุมธานี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอกสารอื่น ๆ

โรงพยาบาลตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2565). คู่มือป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) สำหรับข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). สน.พระราชวัง ติด 'โควิด-19' เกือบยกโรงพัก แม้ฉีดวัคซีน 2 เข็ม. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2565.

สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/947676

เดอะสแตนดาร์ด. (2565). จีนส่งสัญญาณเตรียมเปลี่ยนแปลงนโยบายโควิดครั้งใหญ่. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก https://thestandard.co/china-covid-policy/

แนวคิดและหลักการ COPPS “ตำรวจกองปราบปรามผู้รับใช้ชุมชน (COP)”. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2566. สืบค้นจาก http://chomtong.chiangmai.police.go.th/forum/index.php?topic=19.0

ปณิตา ศรศรี. ตำรวจชุมชนสัมพันธ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2565. สืบค้นจาก http://training.p3.police.go.th/doc/reserd8.pdf

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนะ. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2566.

สืบค้นจาก https://etheses.rbru.ac.th/pdf-uploads/thesis-209-file06-2016-08-03-09-08-

pdf

รัฐบาลไทย. (2565). กระทรวงสาธารณสุขออกประกาศ 1 ต.ค. 65 เป็นต้นไป ยกเลิกโควิด-19 จากการเป็น โรคติดต่ออันตราย และกำหนดให้เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/59491

โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี. (2565). สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-

ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2565.

สืบค้นจาก https://udch.go.th/uploads/doc/covid-19/บทความ%20สถานการณ์โรคติดเชื้อโค

โรนาไวรัส%202019.pdf)

วีโอเอไทย. (2565). จีนผ่อนคลายมาตรการคุมระบาดเพิ่ม-ไร้ซึ่งสัญญาณการยุติ ‘โควิดเป็นศูนย์. สืบค้นเมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก https://www.voathai.com/a/china-eases-controls-gives-no-sign-when-zero- covid-ends/6863453.html

สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. (2565). โครงสร้างสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก http://www.phrarachawang.metro.police.go.th/PoliceITA01.html

สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. (2565). ประวัติสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก http://policepk.siam2web.com/?cid=2013699

สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. (2565). ผังผู้บังคับบัญชาสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565

สืบค้นจาก http://www.phrarachawang.metro.police.go.th/PoliceITA02.html

สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. (2565). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. สืบค้นเมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก http://www.phrarachawang.metro.police.go.th/PoliceITA04.html

สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. (2565). อำนาจหน้าที่สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565.

สืบค้นจาก http://www.phrarachawang.metro.police.go.th/PoliceITA03.html

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ 2561 – 2580). สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2565.

สืบค้นจาก https://www.royalthaipolice.go.th/downloads/strategy.pdf

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). (2565). รายงานสถานการณ์ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565. สืบค้นจาก https://www.businesseventsthailand.com/th/press-media/news-press- release/detail/1462

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30