องค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษายุคเปลี่ยนผ่านดิจิทัล
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์องค์ประกอบ, การบริหารสถานศึกษา, ยุคเปลี่ยนผ่านดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษายุคเปลี่ยนผ่านดิจิทัล ซึ่งเป็นการดำเนินงานต่าง ๆ ตามพันธกิจหรือภารกิจของสถานศึกษาทางด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล และบริหารงานทั่วไป ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหลัก หรือให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร เพื่อให้การบริหารสถานศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีองค์ประกอบหลัก 2 ด้าน คือ 1) การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย 4 ด้าน คือ 1.1) การยอมรับเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลง 1.2) การเข้าถึงเทคโนโลยี 1.3) การเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ 1.4) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ของครูและการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน และ 2) การบริหารการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย 6 ด้าน คือ 2.1) การกำหนดนโยบาย 2.2) การเสริมสร้างพัฒนาภาวะผู้นำ 2.3) การสร้างวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง 2.4) การส่งเสริมการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2.5) การจัดการความรู้ในสถานศึกษา และ 2.6) การทำงานเป็นเครือข่าย นอกจากนี้ผู้บริหารสถานศึกษาควรขับเคลื่อนการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในอนาคต โดยเน้นการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาในยุคเปลี่ยนผ่านดิจิทัลมีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตอย่างมีประสิทธิผล อีกทั้งควรบริหารเพื่อส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ที่เกิดจากการรับรู้ และร่วมมือของบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาทั้งหมด เพื่อสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดความร่วมมือและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). สถิติสำหรับงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
จตุรงค์ ธนะสีลังกูร. (2558). การบริหารจัดการทางการศึกษา. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
จิณณวัตร ปะโคทัง. (2561). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท .
จิตติมา วรรณศรี. (2564). การบริหารจัดการศึกษายุคดิจิทัล. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์ 3.
ชณิดาภา บุญประสม และจรัญ แสนราช. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบการลาออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้า พระนครเหนือ. 10(1), 86-97.
ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก. 44(1), 1-16.
ณรงค์ศักดิ์ พรมวัง. (2553). การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis). เข้าถึงได้จาก: https://rci2010. files.wordpress.com/2010/06/factor-analysis.doc, 1 พฤษภาคม 2567.
ทรงพล เจริญคํา. (2562). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์.
ทินกร เผ่ากันทะ และกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์. (2563). แนวทางการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย (สพบท.), 4(2), 37-46.
ธีระดา ภิญโญ. (2561). เทคนิคการแปลผลการวิเคราะห์องค์ประกอบสำหรับงานวิจัย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10, 292-304.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). สถิติชวนใช้. กรุงเทพมหานคร: ไอคอนพริ้นติ้ง.
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. (2557). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. นนทบุรี: ตรีรณสาร.
ปุณณิฐฐา มาเชค. (2565). การบริหารองค์กรทางการศึกษาในยุคดิจิทัล. เข้าถึงได้จาก: http://ed-adm. buu.ac.th/public/backend/upload/ed-adm.buu.ac.th/document/file/document16662 3381159360600.pdf, 5 กันยายน 2566.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พระครูสังฆรักษ์ไชยรัตน์ ชยรตโน. (2558). การบริหารการศึกษา (Administration). วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตร้อยเอ็ด. 4(2): 320-325.
เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2549). การประมวลผลและแปลผลข้อมูลจากโปรแกรม spss/pc+ สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
เพ็ญพิมล คงมนต์. (2561). สังคมในยุคดิจิทัล. เข้าถึงได้จาก: http://www.newsletter.ipsr.mahidol. ac.th/ index/php/, 16 มกราคม 2567.
ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการแนวคิดทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มนตรีสิ่งพิมพ์ดิจิทัล.
รสริน ศรีริกานนท์. (2555). การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis). เอกสารประกอบการบรรยาย. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ศศิวิมล ม่วงกล่ำ และต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบด้านความสามารถทางดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดสระบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 15(1), 68-85.
ศิริ ถีอาสนา, เสน่ห์ คำสมหมาย, และเฉลิมเกียรติ ถีอาสนา. (2564). คำศัพท์ร่วมสมัย: ยุคศตวรรษที่ 21 ยุคดิจิทัลและยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, 5(2), 113-123.
สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16(1), 353-360.
สมบูรณ์ สุริยวงศ์, สมจิตรา เรืองศรี และเพ็ญศรี เศรษฐวงศ์. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริวิชาการ.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.
สัมมา รธนิธย์. (2560). ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566- 2570). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ.2561-2580). เข้าถึงได้จาก: https://ict.moph.go.th/ th/extension/718, 14 ตุลาคม 2566.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2566). การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2566 (ไตรมาส 1). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2565). การบริหารสถานศึกษาเพื่อสร้างนวัตกรรุ่นเยาว์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.
สุภมาศ อังศุโชติ. (2557). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพมหานคร: บริษัท มิสชั่น มีเดีย จํากัด.
สุระพันธ์ ฉันทะแดนสุวรรณ. (2553). หลักการบริหารธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: จุดทอง.
อติพร เกิดเรือง. (2559). การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 7(1), 173-184.
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2560). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School management in digital era). ทรูปลูกปัญญา. เข้าถึงได้จาก: http://www.trueplookpanya.con/knowledge/52232/-edu, 16 มกราคม 2567.
Hoy, W. K., and Miskel, C. G. (2001). Education and Administration Theory. Research, and Practice. (6th ed.). New York: McGraw-hill.
Jesse, B. (1999). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row
Joreskog, K. G. and Sorbom, D. (1989). LISREL 8: A Guide to the Program SPSS. Chicago: SPSS.
Koontz, H., and Odonnell, C. (2001). Essentials of management. New York: McGraw-hill.
Mary Ann Coughlin and William Knight. (2007). Structural Equation Modeling for Institutional Researchers: Applications using SPSS and AMOS. http://web.tanford.edu/group/ssds/ weblog/archives/2007/04/, 1 พฤษภาคม 2567.
Robbins, Stephen P. (1998). Organizational Behavior. New York: Prentice-Hall.
Sergiovanni T J. (1983). Education Governance and Administrational Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall, Inc.
Sergiovanni, T. (1998). International Journal of Leadership in Education, 1(1), 37.
Stevens, J.P. (2009). Applied Multivariate Statistics for the Social Sciences. 5thed. New York: Taylor & Francis Group.
Wiles, K. (1955). Supervision for Better School. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.