องค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สู่การเป็นโรงเรียนธรรมาภิบาล

ผู้แต่ง

  • จิราภรณ์ เทพคุ้มกัน วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ชัยวัฒน์ ประสงค์สร้าง วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • เฉลิมพล มีชัย วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

การบริหารเชิงกลยุทธ์, โรงเรียน, ธรรมาภิบาล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สู่การเป็นโรงเรียนธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นการดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆภายใต้กรอบของหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ซึ่งเป็นกลไกในการป้องกันและปราบหรามการทุจริตของประเทศชาติให้กับนักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียน เพื่อให้กาบริหารสถานศึกษามีคุณภาพสู่การเป็นโรงเรียนธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบหลักของการบริหารเชิงกลยุทธ์ 3 องค์ประกอบ คือ 1) การกำหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ 2) การปฏิบัติตามกลยุทธ์ 3) การประเมินผลและการควบคุม นอกจากนี้ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการพัฒนากลยุทธ์ในการบริหารสถานศึกษาให้เกิดการบริหารในรูปแบบใหม่ เพื่อวางการฐานการปลูกจิตสำนึก ความซื่อสัตย์สุจริต และการทุจริตในสถานศึกษา ซึ่งจะช่วยให้การบริหารสถานศึกษาตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริตของสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่ได้มีนโยบายให้สถานศึกษาเป๋นโรงเรียนธรรมาภิบาล ปราศจากการทุจริตคอรัปชั่นทุกประเภท

References

จันทิมา บุญอนันต์วงศ์. (2561). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปทุมธานี

จุฑากาญจน์ เก่งกสิกิจ. (2564). การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตธรรมจักร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. ใน วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์. (2545). นโยบายธุรกิจและการบริหารเชิงธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

ชลธิชา ร่มโพธิ์รี. (2561). การบริหารเชิงกลยุทธ์กับการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐวัฒน์ พระงาม. (2555). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยพิษณุโลก

ณัฎฐพันธ์ เขจรนันท์. (2552). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ธีระ รุญเจริญ. (2557). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.

ปิยากร หวังมหาพร. (2560). ประชารัฐจากรายการคืนความสุขให้คนในชาติคืออะไร?. วารสารการบริหารปกครอง, 6(2), 29.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2561). หลักธรรมาภิบาลจากแนวคิดสู่การปฏิบัติในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2560). การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2556. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา.

ลัดดา ผลวัฒนะ. (เมษายน-กันยายน 2557). ธรรมาภิบาลกับการบริหารมหาวิทยาลัย. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 8(2), 17.

วชิราพร บุนนท์. (2565). การพัฒนาตัวบ่งชี้การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย. ใน วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.

วัชราภรณ์ ทีสุกะ. (2557). การพัฒนาตัวบ่งชี้การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วิภาพร วรหาญ (2556). การบริหารเชิงกลยุทธ์ทางการพยาบาล. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556, 31(4), 6-15.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.). (2552). คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์กรภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating). กรุงเทพมหานคร: พรีเมียร์ โปร จำกัด.

สำนักงานพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2558). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนสุจริต. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 53(3), 49.

สุกรี แวมูซอ. (2562). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานการศึกษาเอกชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2547). การบริหารเชิงกลยุทธ์แนวคิดและทฤษฏี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง. (2559). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ของนักเรียน ในศตวรรษที่ 21. ใน วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

อิศราวดี ชำนาญกิจ. (23 มิถุนายน 2555). การจัดการเชิงกลยุทธ์. เรียกใช้เมื่อ 14 มิถุนายน 2567 จาก https://www.gotoknow.org/posts/297090

Certo, Samuel C., & Peter, J. P. (1991). Strategic Management: Concept and Applications. Singapore: McGraw-Hill Inc.

Glueck, W. F., & Jauch, L. R. (1984). Business Policy and Strategic Management. 4 th ed. New York: McGraw-Hill Inc.

Goetsch, D. L., & Davis, S. B. (2003). Quality Management Introduction to Total Quality Management for Production, Processing, and Service. New York: Prentice Hall.

Higgins, J. M., & Vincze, J. W. (1993). Strategic Management. 5 thed. USA: The Dryden Press.

Hunger, J. D., & Wheelen, T. L. (1995). Strategic Management. 5 thed. USA: Addison-Wesley Publishing Company.

Thompson. Arthur A., J., & Strickland III, A. J. (2003). Strategic Management: Concepts and Cases. 13th ed. New York: McGraw-Hill.

Wright, P., & Pringle, K. (1992). Strategic Management, Text and Cases. Allyn and Bacoo.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-14