เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด

  • 1.ผู้เขียนบทความจะต้องรับรองว่าบทความที่ส่งมายังวารสารกระบวนการยุติธรรมไม่ใช่บทความแปลหรือบทความซ้ำ ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น และไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน หากเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้เขียนบทความจะรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว
  • 2. ผู้เขียนบทความได้ส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ลงวารสารกระบวนการยุติธรรมของสำนักงานกิจการยุติธรรมเพียงแห่งเดียวเท่านั้น
  • 3. ผู้เขียนบทความจะส่งบทความตามรูปแบบที่วารสารกระบวนการยุติธรรมกำหนด
  • 4. ผู้เขียนบทความจะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารอ้างอิง ทั้งรูปแบบและเนื้อหาของการอ้างอิง และไม่นำเอกสารวิชาการที่ไม่ได้อ่านมาอ้างอิง หรือใส่ไว้ในบรรณานุกรม
  • 5. ผู้เขียนบทความจะปรับแก้ไขบทความตามผลการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หากไม่รับแก้ผู้เขียนจะต้องชี้แจ้งเหตุผลมายังกองบรรณาธิการอย่างเป็นทางการ

คำแนะนำผู้แต่ง

ข้อกำหนดในการส่งบทความ

  1. ผู้เขียนบทความจะปรับแก้ไขบทความตามผลการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หากไม่รับแก้ผู้เขียนจะต้องชี้แจ้งเหตุผลมายังกองบรรณาธิการอย่างเป็นทางการ
  2. ผู้เขียนบทความจะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารอ้างอิง ทั้งรูปแบบและเนื้อหาของการอ้างอิง และไม่นำเอกสารวิชาการที่ไม่ได้อ่านมาอ้างอิง หรือใส่ไว้ในบรรณานุกรม
  3. ผู้เขียนบทความจะส่งบทความตามรูปแบบที่วารสารกระบวนการยุติธรรมกำหนด
  4. ผู้เขียนบทความได้ส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ลงวารสารกระบวนการยุติธรรมของสำนักงานกิจการยุติธรรมเพียงแห่งเดียวเท่านั้น
  5. ผู้เขียนบทความจะต้องรับรองว่าบทความที่ส่งมายังวารสารกระบวนการยุติธรรมไม่ใช่บทความแปลหรือบทความซ้ำ ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น และไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน หากเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้เขียนบทความจะรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว

 

หลักเกณฑ์สำหรับผู้สนใจส่งบทความมาลงวารสารกระบวนการยุติธรรม 

  1. เป็นบทความวิจัย หรือบทความวิชาการทางด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  2. เป็นบทความที่ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน และไม่อยู่ในระหว่างการเสนอขอลงพิมพ์ในวารสาร/สิ่งพิมพ์อื่น ไม่ใช่บทความแปล หรือบทความซ้ำ ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นและไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อนหากเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ผู้เขียนบทความจะเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว
  3. วารสารกระบวนการยุติธรรมกำหนดให้มีรูปแบบการพิจารณาบทความแบบ double-blinded ซึ่งผู้พิจารณาไม่ทราบชื่อผู้แต่ง และผู้แต่งไม่ทราบชื่อผู้พิจารณา (Double–blind peer review)
  4. เนื้อหาต้นฉบับเป็นผลงานที่สรุปแล้วมีความยาว 10– 20 หน้า (A4) อักษรภาษาไทยพิมพ์ด้วย TH Saraban PSK ขนาด 16 อักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ด้วย Times New Roman ขนาด 12 ในส่วนของการอ้างอิงใช้รูปแบบ APA7 ดยผู้เขียนจะต้องจัดรูปแบบบทความให้ถูกต้องตามที่วารสารกระบวนการยุติธรรมกำหนดก่อนการส่งต้นฉบับ
  5. การส่งต้นฉบับผู้เขียนต้องลงทะเบียนในระบบออนไลน์โดยผ่านเว็บไซต์ www.tci-thaijo.org/index.php/JTJS พร้อมแนบเอกสาร ดังนี้
                5.1 บทความวิจัย หรือบทความวิชาการ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word เท่านั้น
                5.2 แบบฟอร์มเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสารกระบวนการยุติธรรม (ดาวน์โหลดเอกสาร)
  6. บทความที่ถูกต้องตามรูปแบบที่วารสารกำหนดจะส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความประเมินคุณภาพทางวิชาการ 3  ท่านต่อความ โดยพิจารณาบทความแบบ Double–blind peer review และจะติดต่อผู้เขียนในกรณีมีข้อแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ทางผู้เขียนนำไปดำเนินการแก้ไข เมื่อผู้เขียนแก้ไขบทความตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ให้จัดส่งบทความทางระบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของวารสารกระบวนการยุติธรรมอีกครั้ง

 

แบบฟอร์มการเสนอบทความ

  • เนื่องจากวารสารกระบวนการยุติธรรมได้มีการปรับปรุงรายละเอียดในการส่งบทความ และรูปแบบการอ้างอิง APA ให้เป็นปัจจุบันมากยิ่งขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่ มกราคม พ.ศ.2567 เป็นต้นไป รายละเอียดในการส่งบทความ และรูปแบบการอ้างอิง (ดาวโหลดเอกสาร)
  • แบบฟอร์มเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสารกระบวนการยุติธรรม (ดาวน์โหลดเอกสาร)
  • คู่มือการส่งบทความ (ดาวน์โหลดเอกสาร)