ตัวชี้วัดพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชน

Main Article Content

ศศิวิมล ทองกลม

Abstract

The objectives of this study were to collect and identify the indicators of risk behavior for Thai juvenile delinquents including prioritizing such indicators thorough Delphi and scoring rubric techniques. Twenty-seven experts ranging from university professors, guidance teachers in governmental schools, juvenile judges and associate judges were the sample. Mode, median, and quartile were used as statistical tools in data analysis and prioritizing such indicators in terms of a scoring rubric.


the result of thiss study revealed that risk behaviors for Thai juvenile delinquents have various froms. As for the juvenile delinquent, the risk behaviors were aggression, substance use, alcohol consumption, antisocial attituds, and low self control. In terms of family, the risk factors were low parental involvement, harsh or lax discimpline, poor monitoring, and poor teaching from parents, and parental substance use. On school and peer approaches, the risk behaviors were bullying, gang membership, lack of class attendance, substance use by peers and dropping out. Regarding environmental and housing factors, neighborhood disorganization, neighborhood crime, drugs, Internet and games addiction, slum area residency and exposure to crime from media.


Recommendations to remedy risk behaviors and to avoid delinquent behaviors behavior of children and youth are to closely monitor children with risk behaviors. The family should develop strong relaationships with children. Peers, school teachers, and staff of any institute related to children or youth must cooperate in watching and observing the behavior of a child or youth. As well, community residents should cooperate to prevent children and youth from committing crimes. Related organization and institutions can use such indicators for watching the risk behavior of Thai youth.

Article Details

How to Cite
ทองกลม ศ. (2012). ตัวชี้วัดพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชน. Journal of Thai Justice System, 5(1), 89–108. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTJS/article/view/245881
Section
Research Articles

References

กิตติพงศ์ พัฒนพงศ์ (2533). พฤติกรรมเบี่ยงเบนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมปลายในเขตกรุงเทพมหานคร: การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางสังคมจิตวทยา. ปริญญาสังคมวิทยามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คัคนัมพร พูลสวัสดิ์ (2544). ปัจจัยทางสังคมและความสัมพันธ์ในครอบครัวกับการกระทำความผิดของเยาวชนชาย : ศึกษาเฉพาะกรณีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กบ้านกรุณาวิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
จิตรภรณ์ จิตรธร (2551). การกระทำผิอซ้ำของเด็กและเยาวชนในฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ศึกษาเชิงทฤษฎีการควบคุมตนเองการควบคุมทางสังคมและการคบหาสมาคมที่แตกต่าง วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
จิรพัฒน์ พรหมสิทธิการ (2543). ปัจจัยที่มีผลต่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษา: ศึกษากรณีเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)ฉ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ณัฐภัทร์ เพ็ชรแก้ว (2549). การพัฒนาดัชนีชี้วัดสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาสุขศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทศพร ศิริสัมพันธ์ (2551). เทคนิควิธีการวิเคราะห์นโยบาย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนัตภณ ตะพังพินิจการ (2549). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียยนวัยรุ่นชายในอำเภอไทรโยคจังหวัดกาญจนบุรี วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาและการแนวแนวมหาวิทยาลัยศิลปากร.
นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล (2540). อาชญากรรมการป้องกัน: ควบคุม. กรุงเทพมหานคร:พรทิพย์การพิมพ์
บุญเพราะ แสงเทียน (2542). กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พนม เกตุมาน (2550). บทความเรื่องพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่. http://www.psyclin.co.th เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551.
พัฒนา เผือกอ่ำ (2541). ปัจจัยทางด้านภูมิหลังทางสังคม/ปัจจัยทางด้านสภาพแวดล้ามทางสังคม/ปัจจัยทางด้านบุคลิกภาพและอารมณ์/การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์/เด็กและเยาวชนที่กระทำความผิด วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
พรชัย ขันตีและคณะ. (2543). "ทฤษฎีและงานวิจัยาทงอาชญาวิทยา". กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์ บริษัท บุ๊คเน็ต จำกัด.
มานิต มณีนิตย์ (2543). ปัจจัยทางสังคมกับการกระทำผิดคดียาเสพติดของผู้ต้องขังหญิง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาประยุกต์) บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วราพรรณ วงษ์จันทร์ (2547). การพัฒนาดัชนีชี้วัดสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย รูปขำดี และคณะ, งานวิจัยเรื่องวิเคราะห์จากพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กไทย.วารสารรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชน.
ศศพร งามสกุลรุ่งโรจน์ (2550). เกมคอมพิวเตอร์กับความรุนแรงในเยาวชน ศึกษาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต (จริยศาสตร์ศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิริพร จำปาทอง (2550). ปัจจัยในการกระทำผิดของเยาวชนหญิง: ศึกษาเฉพาะกรณีสถานแรกรับและศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมาน ศรีโกศล (2545). การกระทำความผิดของเยาวชน:ศึกษาเฉพาะคดีอุกฉกรรจ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุพรรณี ประเสริฐทองกร (2546). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหลบหนีของเด็กและเยาวชนจาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุภา โพธิ์ศรี (2547). ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านครอบครัวที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนิสิตมหาวิทยาลลัยศรีนครินทรวิโรฒ.วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาครอบครัวและสังคม) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุรีย์ กาญจนวงศ์ และคณะ (2549). การศึกษาปัญหาที่เป็นสาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาชน คณะสังคมศาสตร์. รายงารการศึกษาวิจัย ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางมหาวิทยาลัยมหิดล.
สุเอก ฉินธนทรัพย์ (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความรุนแรงในการกระทำผิดกฎหมาย : ศึกษาเฉพาะกรณีเยาวชนที่กระทำผิดด้วยการจำหน่ายยาเสพติด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุนันทา กาญจนพงศ์ (2540). ทำการศึกษาเปรียบเทียบ ลักษณะการอบรมเลี้ยงดูสภาพครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ระหว่างเยาวชนชายที่ได้และไม่ได้กระทำผิด จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุพรรณี นอบน้อม (2542). พฤติกรรมเบี่ยงเบนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุดสงวน สุธีสงวน (2547). อาชญาวิทยาและงานสังคมสงเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เสริน ปุณณะหิตานนท์ (2523), การกระทำผิดในสังคม:สังคมวิทยาอาชญากรรมและพฤติกรรมเบี่ยงเบน. ภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: เดอะบิสซิเนสเพรส จำกัด: 127
อัจฉรา ทองตัน (2536). การกระทำผิดของเด็กและเยาวชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
อรรถสิทธิ์ ชื่นสงวน และคณะ ((2544). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อาญา ฉบับสมบูรณ์และความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม การเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม. กรุงเทพ อักษราพิพัฒน์
อภิรเดช อินพูลใจ (2549). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะเสี่ยงในการออกกลางคันของนักเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อุษา รัตนภาสุร (2542). การกระทำผิดคดียาเสพติดของเด็กและเยาวชนหญิง : ศึกษาเฉพาะกรณีสถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิง (บ้านปราณี). วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศษสตร์.
เอมอัชฌา พงศ์พรรณภาณุ (2543). การประยุกต์ใช้เทคนิคเดลฟายในการศึกษารูปแบบการนำเสนอข่าวเยาวชนของสถานีวิทยุโทรทันศน์กองทัพบก (ช่อง 5). วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภาษาอังกฤษ
Journals
Craig A. Mason, et al. (1999). "INTRODUCTION: Adolescent Risk Behavior: Linking Theory and Action-A Community Psycology Agenda" American Journal of Community Psychology, Vol.27, No. 2, 1999
Gail A. Wassserman, Kate Keenan, Richard E. Tremblay, John D. Coie, Todd I. Herrenkohl, Rolf Loeeber, and David Petechuk, (2003). "Risk and Protective Factors of Child Delinquency" Office of Juvenile Justice and Delinquency Prevention. April 2003
Harith Swadi, (1999). "Individual risk factor adolescent substance use". Drug and Alcohol Dependence 55 (1999) 209-224
Julia V. Overturf, Barbara Downs ,U.S. Census Bureau, (2003). "Adolescent Behavior and Family Relationships." For Present at the Meeting of the Population Association of America, Minneapolis, MN, May 1-3, 2003
Mark Griffins and Richard T.A. Wood, (2000): "Risk Factor in Adolescence: The Case of Gamling, Videogame Playing and the Internet." Journal of Gambling studies Vol. 16, No 2/3, 2000
Michael Shader, (2003) Risk Factor for Delinquency : An Overview. Office of Juvenile Justice and Delinquency Prevention. U.S. Department of Justice
Pernilla Johansson and Kimberly Kempf-Leonard, (2003). Gender and race in juveniles' pathway to serious, violent and chronic offending.
Stephanie Verlinden, et al. (2000) "Risk Factors in school shootings" Clinical Psychology Review, Vol.20, No.1, pp. 3-56, 2000.