การคุ้มครองพยานในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

Main Article Content

ภควดี ประดับเพชรรัตน์

Abstract

The objectives of this research were to study the attitude of the witness protection of public sector anti-corruption unit and the problems and constraints arising from applying the witness protection of public sector anti-corruption measures. The structured interview method was applied for this qualitatibe research to collect data from key informants: 20 persons involved in the witness protection of public sector anti-corruption unit such as staff and executives of Office of Public Sector Anti-Corruption Commission (PACC) including criminology and justice and witness.


This research found that the staff of the witness protection of public sector anti- corruption unit's attitude considered that the witness protection is extramely important and necessary due to the fact that they are a high-risk group.


Accourding to the problems and constraints from applying the withness protection of public sector anti-corruption unit  measures, the number of staff and budget from the Office of Public Sector Anti-Corruption Commission (PACC) was not sufficient and there was inadequate equipment to protect the witness as well as lack of witness protection measures disseminated.


Therefore, the witness protection should be rapidly and transparently transformed in order to build the witness reliability and realationship.

Article Details

How to Cite
ประดับเพชรรัตน์ ภ. (2013). การคุ้มครองพยานในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. Journal of Thai Justice System, 6(1), 85–100. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTJS/article/view/246066
Section
Research Articles

References

ช่อทิพย์ สุขเนาวรัตน์. (2549). การคุ้มครองพยานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม) คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐวุฒิ เสรีรมย์. (2547). ความคิดเห็นของพนักงานสอบสวนที่มีต่อการคุ้มครองพยานบุคคล :ศึกษาเฉพาะกรณีกองบังคับการตำรวจนครบาล. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เดชรพี คงดี. (2546). การคุ้มครองพยานในคดีอาญาในชั้นสอบสวนของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธีระยุทธ สุทธิพนไพศาล. (2551). แนวทางในการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญาในชั้นสอบสวน ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ : กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจนครบาล 9. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติะรรม) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล.
นิโรจน์ ผลบุญ. (2550). อำนาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนกับการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญาตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พ.ศ. 2550. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ประยุทธ แก้วภักดี. (2542). การคุ้มครองความปลอดภัยของพยานบุคคลในคดีอาญา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ๊มหาวิทยาลัย.
โพลล์ชี้ปัญหาคอร์รัปชั่นในไทยอยู่ในขั้นรุนแรง. (18 มกราคม 2555). กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2555, จาก http://www.bangkokbiznews.com
สุทธิชัย หล่อตระกูล. (2553). ปัญหาและอุปสรรคในการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญาตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม; ว.มรม, 4 (2) พฤษภาคม - สิงหาคม 2553.
สุพจน์ หน่อคำ. (2544). บทบาทของตำรวจกับการคุ้มครองพยานในคดีอาญา. สารนิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารงานยุติธรรม) คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สวนดุสิตโพลล์ชี้ประชาชนกว่า 53% เชื่อโกงพุ่ง. (14 มกราคม 2555). ผู้จัดการออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2555, จาก http://www.manageronline.com
สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม. (2552). ข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชนทั่วประเทศ พ.ศ. 2550, สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2555, จาก http://www.oja.go.th
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2554). คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ, สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2555, จาก www.pacc.go.th
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2552). สถิติผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ด้านการปราบปรามการทุจริต ปีงบประมาณ 2552, สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2555, จาก www.nacc.go.th
อึ้งตัวเลขภาครัฐทุจริตคอร์รัปชั่นหนักถึง 2 แสนล้าน. (29 มิถุนายน 2554). กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2554, จาก http://www.manageronline.com
เอนก อะนันทวรรณ. (2544). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักทรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษากรณีการคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตามมาตรา 244. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Lisa Zipparo. (2006). Factors which deter public officials from reporting corruption, Retrieved 16 October 2012, from http://www.springerlink.com
กฎหมาย ระเบียบคณะกรรมการ้ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ว่าด้วยมาตรการคุ้มครองเบื้องต้นตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2554