การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7

Main Article Content

ธารินี แสงสว่าง

Abstract

The objectives of this study were to (1) examine the participation levels of volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7, (2) investigate the relationship between basic attribute factors of volunteer probation officers and their participation in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Officer Region 7, (3) compare the participation levels of volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7 classified by area, (4) recommend appropriate guidelines to enhance the participation of volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7.


The study was a survey research. Population of 1,235 comprised 1,212 volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7, all 23 executives and officials of provincial probation officers under the Probation Office Region 7. Samples of 324 included 301 volunteer probation officers obtained via Taro Yamane calculation with accidental random sampling, and 23 executives and officials. Instrument used were questionnaire and interview forms. Statistical tools employed were frequency, percentage, standard deviation, and Pearson's correlation coefficient.


The results of the study were as follows: (1) the volunteer probation officers, in general, had high level of participation, with highest mean on decision-making aspect (2) basic attribute factors had positive relations with volunteer participation at 0.05 level of statistical significance, with capacity factor the highest correlation, (3) when compared the participation, the study revealed that the volunter probation officers of Phetchburi Probation Office had the highest level of participation, while volunteer probation officers of Suphanburi Probation Officer had the lowest leel of participation, (4) major recommendations were the Department of Probation should increase the capacity of volunteer probation officers through development program to enable them to work together with the official in analyzing offender's problems, encourage their praticipation in drawing up the action plan by assigning them to work as project managers f community-based offenders rehabilitation activities, support sufficient budget and equipment, and enable them to manage their own volunteer coordinating centers.

Article Details

How to Cite
แสงสว่าง ธ. (2015). การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7. Journal of Thai Justice System, 8(1), 87–104. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTJS/article/view/246374
Section
Research Articles

References

กรกช นาควิเชตร และคณะ. (2554). การศึกษารูปแบบการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม.

กลุ่มงานบริหารสังคมกองกิจการชุมชนและบริการสังคม. (2554). กลยุทธ์การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำ. กรมคุมประพฤติกระทรวงยุติธรรม.
กรมคุมประพฤติ. (2537). คู่มือการปฏิบัติงานคุมประพฤติ. กรมคุมประพฤติ. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กรมคุมประพฤติ. (2545). คู่มืองานควบคุมและสอดส่งและกิจกรรมชุมชน. โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร.
กรมคุมประพฤติ. (2550). คู่มืองานกิจกรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร. กรมคุมประพฤติ. (2550).
เอกสารประกอบการอบรมอาสาสัมครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กรมคุมประพฤติ. (2555). คู่มือประกอบการอบรมอาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
โกวิทย์ พวงงาม. (2545). การเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน. ม.ป.ท. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 16 พ.ค. 2557.
คณะวิจัยสถาบันพระปกเกล้า. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนและความคิดเห็นต่อการทำงานของรัฐบาลและองค์กรอิสระ.
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบัน พระปกเกล้า ครั้งที่ 4 : เรื่อง 5 ปี ของการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ วันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2545 ณ ศูนย์ประชุม สหประชาชาติ.
ทัศนีย์ ไทยาภิรมย์. (กรกฎาคม 2526). การพัฒนาชุมชน : วิธีการระดมการมีส่วนร่วมของชุมชน. นิตยาสารกรมประชาสงเคราะห์. (26) 4,
ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ปรีดี โชติช่วง และคณะ. (2536). การพัฒนาชุมนและการบริหารงานพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ:บพิธการพิมพ์.
ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2542). การบริหารการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
ยุพาพร รูปงาม. (2545). การมีส่วนร่วมของข้าราชการสำนักงบประมาณ ในการปฏิรูประบบราชการ. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
วิไล จิวังกูร. (2528). กฎหมายคุมประพฤติผู้ใหม่ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ภาควิชา นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุภาพ ถิรลาภ. (2546). การวิเคราะห์เชิงสมมุติฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัมนาชนบท:ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอพิบูลมังสาสหาร จังหวัดอุบลราชธานี. สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, หน้า 21-22.