“Maen Pa Laew Ja Sot Hai Mot Mo Mae Pla Mo Tom Khem Phee Tem Ha” (I have a strong desire for you. Once I meet you, I will savor the taste of every part of your body) Food and Women in the Thai Literature of the Early Rattanakosin Period

Main Article Content

ธนภัทร พิริย์โยธินกุล

Abstract

This article aims to investigate the relationship among women, food and sex in three pieces of Thai literature written in the Early Rattanakosin Period. The study found that food serves as a metaphor for women, copulation, and desire and other emotions, especially when women and sexual intercourse are compared to food or the tastes of food, a striking characteristic which sets the literature of the Early Rattanakosin Period apart from the literature of previous periods. The aforementioned relationship, however, does not imply
disparagement or devaluation of women. On the contrary, women are valued and honored for their taking a crucial role in providing great happiness to fulfil men and for their wisdom and abilities. Women’s charms, therefore, are related to the characteristics and the roles of women as determined by society. This also reflects a culture where although men have a higher status, they value women as well.

Article Details

Section
บทความทั่วไป

References

กฎมณเทียรบาล ฉบับเฉลิมพระเกียรติ. (2548). “กฎหมายตราสามดวง: ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก.” กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

กอบแก้ว นาจพินิจ. (2542). อาหารไทย. กรุงเทพฯ: โปรแกรมวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

การุญญ์ พนมสุข. (2549). การวิเคราะห์เปรียบเทียบอุปลักษณ์ในบทอัศจรรย์ของวรรณกรรมไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2552). กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่นิราศแรมรสร้าง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (ม.ป.ป.). ความเปรียบและบทบาทของความเปรียบในพระอภัยมณี นิทานคำกลอนของสุนทรภู่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2559). ความสำคัญของ “สหศิลป์” ในวรรณคดีพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2. ใน รัตนพล ชื่นค้า (บรรณาธิการ). สหวิทยาการวิศาลศิลป์ (น.83-139). กรุงเทพฯ : ภาควิชาวรรณคดีและคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นพพร ประชากุล. (2552). อาหารการกินกับวรรณกรรม. ในยอกอักษรย้อนความคิด เล่ม 1 (น. 291-297). กรุงเทพฯ: อ่าน.

ประชุมกาพย์เห่เรือ. (2553) (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.

ปรัดเล, แดน บีช. (2514). อักขราภิธานศรับท์. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.

ปัทมา ดำประสิทธิ์. (2557). อุปลักษณ์อาหารการกินในบทอัศจรรย์. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 1(2), 145-172.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิง. (2557). ตำราแม่ครัวหัวป่าก์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ.

พัทยา สายหู. (2544). กลไกของสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิพาดา ยังเจริญ และสุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา. (2529). การศึกษาและผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยต้นรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325-2394). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เยาวนุช อินทรเดโชกุล. (2521). อาหาร-สตรี-วรรณคดี-สังคม ในอาหารในวรรณคดีจากกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วงวรรณกรรม.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2534). ตัวละครหญิงในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 1893-2394) (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.

วรรณกรรมพระยาตรัง. (2547) (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

สุกัญญา ภัทราชัย. (2540). เพลงปฏิพากย์: บทเพลงแห่งปฏิภาณของชาวบ้านไทย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา สุจฉายา (บ.ก.). (2561). สำรับอาหารไทย จากบ้านสู่วัง. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2550). กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย: อาหารกับอารมณ์สะเทือนใจ. ในรวมบทความวิจัย

ยำใหญ่ใส่สารพัด: วัฒนธรรมอาหารไทย-เทศ (น.111-130). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทรภู่. (2553). พระอภัยมณี (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา.

ซี.พี.ออลล์. (2558). เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับสมบูรณ์สามภาคและฉบับต่างสำนวน. 2 เล่ม. กรุงเทพฯ : บริษัทซี.พี.ออลล์ จำกัด (มหาชน).

อาจิณ จันทรัมพร และประพนธ์ เรืองณรงค์. (2555). นายมี (เสมียนมี) : ศิษย์เอกสุนทรภู่. กรุงเทพฯ : วสี ครีเอชั่น.

Berzok, Linda Murray. (2003). Sex and Food. In Katz, Solomon H., editor. Encyclopedia of food and culture v.3 (pp. 264-267). Farmington Hills, MI: Thomson/Gale.

Hines, Caitlin. (1999). Rebaking the Pie the Woman as dessert Metaphor. In Mary Bucholtz, A. C. Liang, Laurel A. Sutton, editors. Reinventing Identities: The Gendered Self in Discourse (pp. 145-162). New York: Oxford University Press.

Pramoj, Seni, M.R. (1978). Interpretative Translations of Thai Poets. Bangkok: Thai Watana Panich.