การสร้างประโยคจากการฟัง ในบริบทการศึกษาภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศ: กรณีศึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย

Main Article Content

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข

บทคัดย่อ

                งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่มีต่อการสร้างประโยคจากการฟัง และ 2) ศึกษาผลของการปฏิสัมพันธ์เพื่อช่วยกันสร้างประโยคของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาตรี วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น จำนวน 8 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) นักศึกษาคิดว่าการสร้างประโยคจากการฟังเป็นประโยชน์กับการพัฒนาความสามารถภาษาญี่ปุ่น ทำให้สังเกตเห็นจุดอ่อนภาษาญี่ปุ่นของตนเองมากขึ้น ค่าเฉลี่ย 5.00 และ 2) การปฏิสัมพันธ์เพื่อช่วยกันสร้างประโยคช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น จากการวิเคราะห์บทสนทนาแบบร่วมมือ พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาประเภทที่ทำให้สร้างประโยคได้ถูกต้องร้อยละ 68 โดยข้อมูลประเภทนี้มีจำนวนผลัดในการสนทนาเป็นจำนวนมาก เนื่องจากนักศึกษาพยายามช่วยกันแก้ปัญหาอย่างเต็มที่ กล่าวได้ว่าการสร้างประโยคจากการฟังเป็นโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้ภาษาญี่ปุ่นในการฟังและสร้างประโยค ทำให้สังเกตเห็นความสามารถภาษาญี่ปุ่นที่ยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ได้ตั้งสมมติฐานและทดสอบสมมติฐาน และสะท้อนคิดจากการปฏิสัมพันธ์เพื่อช่วยกันสร้างประโยค

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข, และพัชราพร แก้วกฤษฎางค์. (2562). การพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 36(1), 102-117.

Nassaji, H., & Fotos, S. (2011). Teaching grammar in second language classrooms: Integrating form-focused instruction in communicative context. New York: Routledge.

Swain, M. (1995). Three functions of output in second language learning. In H. G. Widdowson, G. Cook, & B. Seidlhofer (Eds.), Principle and practice in applied linguistics: Studies in honour of H. G. Widdowson (pp. 125-144). Oxford: Oxford University Press.

Swain, M. (1998). Focus on form through conscious reflection. In C. Doughty, & J. Williams (Eds.), Focus on form in classroom second language acquisition (pp. 64-81). Cambridge: Cambridge University Press.

Swain, M., & Lapkin, S. (1998). Interaction and second language learning: Two adolescent French immersion students working together. The Modern Language Journal, 82, 320-337.

Wajnryb, R. (1990). Grammar Dictation. Oxford: Oxford University Press.

アルヴァレズ・ロエリア. (2017). 「フィリピン大学の日本語クラスにおけるディクトグロスの導入―初級学習者を対象にした試み―」『日本言語文化研究会論集』, 13, 131-153.

王文賢. (2010). 「習熟度が異なるペアにおける協力的対話と日本語の習得の効果−7つの文法項目に焦点を当てて」『日本言語文化研究会論集』, 6, 33-49.

金庭久美子. (2011). 「日本語教育における聴解指導に関する研究: ニュース聴解の指導のための言語知識と認知能力」『日本アジア研究 : 埼玉大学大学院文化科学研究科博士後期課程紀要』, 8, 1-31.

北村弘明. (2017). 「“FonF”の理念と手法についての一考察―運用法習得における形式的学習の位置と提言―」『聖徳大学研究紀要』, 28, 89-96.

木田真理. (2019). 「日本語教育通信 授業のヒント「ディクトグロス」をやってみよう!」. Retrieved from https://www.jpf.go.jp/j/project/japanese/teach/tsushin/hint/201901.html.

小山悟. (2002). 『J. BRIDGE to intermediate Japanese』東京: 凡人社.

荻原廣. (2009). 「日本語教育におけるディクトグロス用教材作成のための基礎的研究」『日本言語文化研究』, 13, 96-105.

藤田裕子. (2020. 「聴解授業における聴解ストラテジーの指導とディクトグロスの効果」『日本語教育方法研究会誌 』, 26(2), 124-125.

堀恵子. (2014). 「アウトプット重視の授業におけるディクトグロス導入の試み一中級前半のプロジェクトワークの準備として一」『日本語教育方法研究会誌』, 21(2), 46-47.

前田昌寛. (2021). 『「ディクトグロス」を取り入れた英語力を伸ばす学習法・指導法』東京:開拓社.

蒔田雅子. (2014). 「聴解ストラテジ一使用と手がかり―日本語母語話者、上級学習者、中級.s,j学習者の分析から―」『音声研究』, 18(1), 1-12.

村野井仁. (2006). 『第二言語習得研究から見た効果的な英語学習法・指導法』. 東京: 大修館書店.

山口恵子・鈴木秀明. (2013). 「中級学習者に対するディクトグロスの実践―文法クラスでも取り組み―」『アカデミック・ジャパニーズ・ジャーナル』, 5, 23-30.

山口恵子・尾崎和香子. (2013).「総合的な日本語運用力の向上を目指して―ディクトグロスの試み―」『日本語教育実践研究フォーラム報告』WEB版, 1-10.