การวิเคราะห์และนำาเสนอผลการวเิคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับด้วยโปรแกรม Mplus
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเสนอแนวคิดสำาคัญและทางเลือกปฏิบัติสำาหรับการวิเคราะห์ โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับด้วยโปรแกรม Mplus โดยก่อนสั่งวิเคราะห์ข้อมูล สามารถเตรียมคำาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลได้ 2 วิธีคือ 1) การใช้ Language Generator คือ การกดเมนูคำาสั่งในโปรแกรมเพื่อให้ โปรแกรมแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับคำาสั่งในการวิเคราะห์ข้อมูลในหน้าต่าง Syntax และ 2) การเขียนคำาสั่ง ด้วยตนเองโดยตรงลงในหน้าต่าง Syntax นอกจากนั้นยังได้นำาเสนอหลักการและวิธีใช้คำาสั่ง Fix, Free, และ With สำาหรับการปรับโมเดล ตลอดจนเทคนิคในการตรวจสอบและพิจารณา Mplus Output เพื่อค้นหาดัชนี ความสอดคล้องของโมเดล รวมทั้งคำาอธิบายเกี่ยวกับดัชนีต่างๆ ตลอดจนการนำาเสนอตารางผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเบื้องต้นด้วย ในประเทศไทย วิธีวิทยาการวิจัยจะพัฒนามากทางด้านการศึกษา แต่ทางด้านการบริหารจัดการหรือ ด้านอื่นๆ กลับพบว่า ยังมีช่องว่างสูง สังเกตได้จากปริมาณจำานวนวิทยานิพนธ์ที่เพิ่มขึ้น แต่วิธีวิทยาการวิจัยยัง เหมือนเดิม ยังคงใช้เทคนิคการวิจัยแบบเดิมๆ เพียงไม่กี่เทคนิคเท่านั้น และเทคนิคการวิจัยที่พบ ส่วนใหญ่ยัง มีแนวโน้มข้อตกลงเบื้องต้นขัดกับสภาพความเป็นจริงตามธรรมชาติของข้อมูล ในขณะที่เทคนิคการวิเคราะห์ โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับ เป็นเทคนิคการวิจัยใหม่ล่าสุด และตอบสนองต่อทิศทางการวิจัยในอนาคต ได้เป็นอย่างดี ซึ่งในคู่มือการใช้โปรแกรม Mplus ได้มีโมเดลไว้ให้ศึกษาเพื่อการวิจัยมากกว่า 150 โมเดล ซึ่ง เหมาะสมอย่างยิ่งสำาหรับการเริ่มต้นนำาวิธีวิทยาการวิจัยใหม่ๆ มาพัฒนา โดยนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทั้ง ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สามารถที่จะก่อให้เกิดคุณค่าและส่งมอบไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อยอด นำา มาซึ่งการยกระดับปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศโดยรวมและต่อไปในอนาคต
Article Details
บทความที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งสมาคมนักวิจัยไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป การนำเสนอผลงานวิจัยและบทความในวารสารนี้ไปเผยแพร่สามารถกระทำได้ โดยระบุแหล่งอ้างอิงจาก "วารสารสมาคมนักวิจัย"
References
โกศล จิตวิรัตน์ (2553). การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับด้วยโปรแกรม HLM.เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ.คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
โกศล จิตวิรัตน์ (2553).เทคนิคการวิจัยใหม่ๆ เอกสารประกอบการสอนรัหสวิชา 303-41-15.สาขาวิชาการ จัดการคณะบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
โกศล จิตวิรัตน์ (2553) วิจัยธุรกิจ (Business research) กรงุเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์
โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ.(2554).เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับในงานวิจัยด้วยโปรแกรม HLM. วารสาร สมาคมนักวิจิย, 16(2), พฤษภาคม-สิงหาคม.
โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2554). ศักยภาพของโปรแกรม Mplus กับการวิเคราะห์สถิติขั้น สูงในงานวิจัย วารสารสมาคมนกัวจิยั. 16(3), กันยายน-ธันวาคม.
โกศล จิตวิรัตน์ และคณะ. (2554). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS, LISREL, HLM และ Mplus. นนทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับ วารสารการวิจัยสังคมศาสตร์สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นงลักษณ์ วิรัชชัย (2553). Multilevel SEM. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นงลักษณ์ วิรัชัชัย และคณะ. (2554). วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติขั้นสูงโดยใช้โปรแกรม Mplus. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ.คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บุรทิน ขำภิรัฐ. (2551). การพฒันาและการตรวจสอบความตรงเครีองมือวัดคุณลักษณะและความสามารถของบัณฑิต กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับ 2. วารสารสมาคมนักวิจัย, 13(3), กันยายน 2551-มกราคม 2552
ภัทราวดี มากมี (2552). การพัฒนารูปแบบการวัดประสิทธิผลองค์การสำหรับคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์เชิงสาเหตุพหุระดับ.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รติพร ถึงฝั่ง และโกศล จิตวิรัตน์ (2554).ปัญหาและข้อเสนอแนะในการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย โปรแกรม LISREL.วารสารสมาคมนักวิจัย, 16(1), มกราคม-เมษายน.
ศิริชัย กาญจนวาสี (2550). การวิเคราะห์พหุระดับ (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Muthen,L K ,& Muthen,B O (2008) Mplus: The Comprehensive Modeling Program for Applied Researchers user’s guide,Version 5.21 Los Angeles, CA: Muthen& Muthen.
Muthen, L K & Muthen, B O (1998-2010) Mplus User’s Guide. (6thed) Los Angeles,CA: Muthen& Muthen.