การทำนายความตั้งใจกลับมาซื้อซ้ำด้วยการรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจด้านส่วนประสมการตลาดของสินค้าของฝากข้าวหลามจากตลาดหนองมน จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

วุฒิชาติ สุนทรสมัย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจส่วนประสมการตลาดสินค้าของฝากข้าวหลาม วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจส่วนประสมการตลาดกับความตั้งใจกลับมาซื้อซ้ำ และทำนายความตั้งใจกลับมาซื้อซ้ำด้วยการรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจส่วนประสมการตลาดสินค้าของฝากข้าวหลามจากตลาดหนองมน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เลือกแบบชั้นภูมิและมีระบบจำนวน 400 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคุณที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05  ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวได้รับคุณค่ารวมที่ผู้บริโภคมากกว่าต้นทุนรวมที่ผู้บริโภคจ่ายหรือซื้อสินค้าของฝาก โดมีความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ราคา และการส่งเสริมการตลาดสูงสุด 3 อันดับ การรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจส่วนประสมการตลาดด้านราคามีความสัมพันธ์กับความตั้งใจซื้อซ้ำ และตัวแปรการรับรู้คุณค่าและความพึงพอใจส่วนประสมการตลาดด้านราคา สามารถทำนายความตั้งใจกลับมาซื้อสินค้าของฝากข้าวหลามจากตลาดหนองมนซ้ำ โดยอธิบายความตั้งใจกลับมาซื้อสินค้าของฝากข้าวหลามจากตลาดหนองมนซ้ำได้ร้อยละ 39.4

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ญาณี เหล่าเจริญนาน และวุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ และความภักดีของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรี. ใน รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 Graduate School Conference 2018 (หน้า 259-268). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.

เทศบาลเมืองแสนสุข. (2563). สถิตินักท่องเที่ยวบางแสนปี 2562. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2563, จาก http://www.saensukcity.go.th

บดินทร์ภัทร์ สิงห์โต (2558). พฤติกรรมการเลือกซื้อและปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจกลับมาซื้อซ้้าของลูกค้า ในตลาดนัดสวนจตุจักร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ฟ้าพิไล ทวีสินโสภา. (2560). แนวทางการพัฒนาร้านขายสินค้าที่ระลึกเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงชุมชนในจังหวัดตรัง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 9(1), 113-126.

ภาศิกา แซ่เตียว. (2556). ศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพด้านการผลิตและด้านการตลาดของผู้ผลิตสินค้าของฝากประเภทของฝากข้าวหลามระหว่างจังหวัดชลบุรีและจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วัชรวิชญ์ วิยาภรณ์. (2563). การพัฒนาศักยภาพทางการตลาดจากการท่องเที่ยวแบบจับจ่ายใช้สอยอย่างยั่งยืนของนักท่องเที่ยวชาวจีนในกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 15(1) 72-85.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2563). สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2553 – 2562. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/17.aspx

หัสดินทร์ สอนปะละ และล่ำสัน เลิศกูลประหยัด. (2560). แรงจูงใจและส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อเซรามิกของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเอาท์เลทเซรามิก จังหวัดลำปาง. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(1) , 205-223.

Botos, A., Trodorescu, N., Pargaru, I. Stancioiu, A. F., & Radu, A. C. (2013). Souvenirs-Factor Influencing the Tourism Activity. Case Study: Opinions of young People on Souvenirs. Annals of the University of Petrosani Economics, 13(1), 15-34.

Hair, F.J., Black, W. C., Babin, J. B., & Anderson, E. R. (2013). Multivariate Data Analysis. New York : Pearson Education Limited.

Hunter, W. C. (2012). The good Souvenir: Representations of Okinawa and Kinmen islands in Asia. Journal of Sustainable Tourism, 20(1), 81-99.

Kotler, P. (2012). Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation, and Control. NJ: Prentice-Hall.

Li, J. (2562). การตัดสินใจเลือกซื้อผลไม้แปรรูปของนักท่องเที่ยวจีนในจังหวดัเชียงใหม่. สารนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

Nunnally, C. (1978). Psychometric theory. New York: McGraw-Hill.

Polit, D. F. & Hungler, B. P. (1999). Nursing Research: Principles and Methods. (6thed.). Philadelphia: Lippincott.

Scaraboto, D., & Figueiredo, B. (2015). How to Create Value via Object Circulation in Gift-Systems. Ethnographic Praxis in Industry Conference Proceedings, 1, 235-253.

Vasheghani-Farahani, F., Esfandiar, K., & Tajzadeh-Namin, A. (2014). Effective Factors on Souvenir Purchase: The Case of Foreign Tourists’ Viewpoint in Tehran City. Enlightening Tourism. A Pathmaking Journal, 4(2), 147-167.

Yamane, T. (1967). Elementary Sampling Theory. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall, Inc.

Yujia, Lin. (2555). การสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น: กรณีศึกษาการทำของฝากข้าวหลามหนองมน เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

Translated Thai Reference

Li, J. (2562). Purchasing Decision towards Thai Processed Fruits of Chinese Tourists in Chiangmai Province. Independent Study. Business Administration Graduate School, Ratchaphat Chiengmai University. (in Thai)

Lowjareannan, Y., & Soonthonsmai, V. (2018). Factor Influencing to Consumers’ Satisfaction and Loyalty for Bakery Shop in Amphur Maung, Chonburi Province. In Graduate School Conference 2018 of Suan Sunandha Rajabhat University. (pp. 289-236). Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. (in Thai)

National Statistic Organization. (2019). Domestic Tourism Statistics (Classify by region and Province) 2017-2019. Retrieved January 15, 2020, from https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=525 (in Thai)

Sae-tiew, P. (2013). The Comparative Study of Potentiality of Production and Marketplace of Kowlam Producers between Chonburi province and Nakornprathom province. Unpublished Master Thesis, Major in Small and Medium Enterprises Management, Burapha University. (in Thai)

Saensuk Municipality. (2020). Tourists Statistics in Bangsean, Chonburi in 2019. Retrieved from http://www.saensukcity.go (in Thai)

Singto, B. (2015). Purchase behavior and Factors affecting to Intention to Repurchase of Customers in the Chatuchak marketplace. Independent Study. Business Administration. School of Business Administration, Bangkok University. (in Thai)

Sornpala, H., & Lertkulprayad, L. (2017). Student, Master of Business Administration Program in Marketing, Srinakharinwirot University, Motivation and Marketing Mix Influencing Tourists’ Buying Behavior at Ceramic Outlet Lampang Province, Thailand. Dusit Thani College Journal, 11(1), 205-223. (in Thai)

Thaweesinsopha, F. (2017). Approach to Develop Souvenir Shop for the Development of Community Based Tourism in Trang Province. Research Journal of Rachamongkul Srivichai University, 9(1), 113-126. (in Thai)

Wiyaporn, W. (2020). Marketing Potentiality Development of Sustainable Shopping Tourism for Chinese Mainland Tourists in Bangkok. Journal of Service and Thai Tourism, 15(1), 72-85. (in Thai)

Yujia, L. (2012). Community Intellectual Transfer: A Case study of Kowlam from Nongmon Marketplace in Chonburi province. Unpublished Master Thesis, Major in Thai Study, Burapha University. (in Thai)