การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักปกครองส่วนท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
นักปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสำคัญในฐานะบริหารงบประมาณท้องถิ่น การมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อพัฒนาในท้องถิ่น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วย แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ กับ นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมจำนวน 380 คน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และเทคนิคการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง และเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาและการฝึกอบรมจากภาครัฐ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น บุคลิกภาพของผู้นํา ความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักปกครองส่วนท้องถิ่น อยู่ในระดับมากทั้งหมด มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.78 - 4.02 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ การพัฒนาและการฝึกอบรมจากภาครัฐ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น บุคลิกภาพของผู้นํา ความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพ สามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 88 3) แนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์มี 2 แนวทางสำคัญ ได้แก่ แนวทางในการพัฒนาระบบการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และแนวทางในการส่งเสริมบรรยากาศในการทำงานของนักปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับประชาชน ข้อค้นพบใหม่จากการวิจัย คือ การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องมีหน่วยงานมาดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง และการสร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งสมาคมนักวิจัยไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป การนำเสนอผลงานวิจัยและบทความในวารสารนี้ไปเผยแพร่สามารถกระทำได้ โดยระบุแหล่งอ้างอิงจาก "วารสารสมาคมนักวิจัย"
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
จิราวรรณ แสงตันชัย. (2561). แนวทางการพัฒนาบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่ความเป็นเลิศ กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 13 (43): 53 – 62.
จรัส สุวรรณมาลา และวีรศักดิ์ เครือเทพ. (2554). ประเด็นท้าทายการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมและธรรมาภิบาลท้องถิ่น.
ชัยรัตน์ มาสอน, ชาญชัย ฮวดศรีและ สุรพล พรมกุล. (2565). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปกครอง ส่วนท้องถิ่นอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการร้อยแก่นสาร. 7 (1): 337 – 354.
นวรัตน์ นิธิชัยอนันต์. (2559). การพัฒนาบุคลิกภาพ. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
เบญญาพัชร์ วันทอง. (2557). จิตวิทยาบุคลิกภาพ. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล. (2548). ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มงคล จันทร์ส่อง. (2554). ระดับความรู้และการมีส่วนร่วมของสมาชิกสาองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์ และคณะ. (2550). จิตวิทยาการปรับตัว. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2558). 15 ปี การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2555). การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
สิวาพร สุขเอียด. (2562). การปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นเมือ 10 กรกฎาคม 2565, จาก http://wiki.kpi.ac.th /index.php?title.
Anna, C. H. & Ute-Christine, K. (2019). Enhancing career adaptive responses among experienced employees: A mid-career intervention. Journal of Vocational Behavior. 111(2019): 91-106.
Canning, L., & Hanmer ‐ Lloyd, S. (2002). Modelling the adaptation process in interactive business relationships. Journal of Business & Industrial Marketing. 7(7): 615-636.
Fisher, F. (2007). The twelve competencies: leadership training for local government officials. National Civic Review. 96(2): 1-28.
Heather, G -T., Jacob, F., Chris, S. & Cullen, C. M. (2015). Considering the effects of time on leadership development: A local government training evaluation. Public Personnel Management. 44(3): 295–316.
Ivancevich, J.M. (2007). Human resource management. New York: McGraw-Hill.
Ikram, M. (2017). When local governments waiver: Giving bite to students with disabilities' federal right to avail physical education. Rutgers JL & Pub. Pol'y, 15(2017):1-10
Jennifer, W. (2011). The dynamics of public confidence in U.S. State and Local Government. State Politics and Policy Quarterly. 10(4): 421 - 445.
Jöreskog, K. G., & Sörbom, D. (1993). LISREL 8: Structural equation modeling with the SIMPLIS command language. Scientific Software International; Lawrence Erlbaum Associates, Inc.
Kelloway, E. K. (1998). Using LISREL for structural equation modeling: A researcher's guide. Sage Publications, Inc.
Martincic, S. G. (2018). Managing employee's career in local government. Conference Proceedings International Conference Development of Public Administration. 77(2018): https://icma.org/page/careers-local-government-management.
Mallinson, D. J & Patrick, B. (2019). Increasing career confidence through a course in public service careers. Journal of Political Science Education. 15(2): 161-17.
Morris, C.G.,& Moisto, A .A. (2002). Psychology: An introduction. New Jersey: Prentice-Hall.
Okunkova, E., Ershova, I., Yakimova, E. Y., & Karakulin, A. Y. (2020). Development of personnel as a factor in increasing production efficiency in construction. IOP Conference Series: Materials Science and Engineering. 775 (1): 1-6.
Werner, J. M. & DeSimone, R. L. (2006). Human resource development. Australia: Thomson South-Western.
Schelin, S. H. (2004). Training for digital government. Digital government: Principles and best practices.
Staddon, J. e. r. (2016). Adaptive behavior and learning. Cambridge: Cambridge University Press.
Savickas, M. L., & Porfeli, E. J. (2012). Career adapt-abilities scale: Construction, reliability, and measurement equivalence across 13 countries. Journal of Vocational Behavior. 80(3): 661-673.
Santilli, S., Marcionetti, J., Rochat, S., Rossier, J., & Nota, L. (2017). Career adaptability, hope, optimism, and life satisfaction in Italian and Swiss adolescents. Journal of Career Development. 44(1): 62-76
Translated Thai References
Chansong, M. (2011). Knowledge level and participation of members of the Subdistric Administrative Organization. Bangkok: Silpakorn University.
Masorn, C., Huadsri, C & Promkul, S. (2022). People's participation in governance. Nam Phong District Khon Kaen Province. Roi Kaen San Academic Journal. 7 (1): 337 – 354.
Nithichaianan, N. (2016). Personality development. Surin: Surin Rajabhat University.
Office of the Decentralization Commission for Local Administrative Organizations. (2015). 15 years of decentralization to local government organizations. Bangkok: Office of the Decentralization Commission To local government organizations.
Puangngam, K. (2010). Self-management of communities and localities. Bangkok: Bopit Printing.
Suk-iad, S. (2019). Local government. Retrieved 10 July 2022, fromhttp://wiki.kpi.ac.th /index.php?title.
Saengtanchai, J. (2018). Guidelines for personnel development in local government organizations towards excellence. Case study of Loei Provincial Administrative Organization. Journal of Research and Development of Loei Rajabhat University. 13 (43): 53 - 62.
Suwanmala, C & Kruethep, W. (2011). Challenging issues of decentralization and local government in Thailand. Bangkok: Center for Promotion of Local Innovation and Governance.
Trakulsarit, W. et al. (2007). Psychology of adaptation. Bangkok: Academic Promotion Center.
Uwanno, B & Burikul, T. (2005). Participatory democracy. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.
Wanthong, B. (2014). Personality psychology. Faculty of Education, Pibulsongkram Rajabhat University.
Witchawut, S. (2011). Psychology of learning. Bangkok: Thammasat University Press.
Wongsawan, S. (2012). Personality development. Bangkok: Collection of messages. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title.