ความท้าทายและโอกาสจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวพ.ศ. 2553
Keywords:
ศาลเยาวชนและครอบครัว, Juveniles and Family CourtAbstract
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ประกาศใช้โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชนให้มีโอกาสที่จะพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นพลเมืองดี ขณะเดียวกันผู้ที่ได้รับความเสียหายจากการกระทำผิดที่เกิดจากเด็กและเยาวชนสมควรได้รับการดูแลและเยียวยาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเช่นกัน การวิจัยในครั้งนี้ ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ ผสมการวิจัยเชิงคุณภาพและได้ค้นพบว่าบทบัญญัติตามกฎหมายทั้ง 18 หมวด 206 มาตรา นั้นเป็นบทบัญญัติที่ดี หากได้รับการส่งเสริมและพัฒนาระบบที่เกี่ยงข้องในด้านโอกาสที่เด็กและเยาวชนจะได้รับการแก้ไขบำบัดพฤติกรรมแทนการดำเนินคดีอาญา ในด้านความเชื่อมั่นต่อมาตรการที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาเด็ก ในด้านความเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมายและตีความการบังคับใช้กฎหมาย และในด้านทรัพยากรด้านงบประมาณและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกรวมทั้งบุคคลกร และผู้ชำนาญการ
The Juvenile and Family Court Act and Judicial Examination and Determination on Issues B.E 2553 were enacted with the objectives of protecting the rights of juveniles for good citizen development as well as helping the victims from damages caused by the juveniles. The quantitative research and qualitative research were carried out. It was found that the Act was suitable. It could yield more appropriate fruits if the procedure has been fully supported by the following measures: Enhancement of opportunities for juvenile to be cured and corrected before they enter criminal procedure, trust in Juvenile development program, understanding the purpose of intention and interpretation of the law, and availability of resources, places, budget, expertise and personnel.
References
Government Gazette. (2546). Child Protection Act BE 2546. Bangkok: Government House.
Government Gazette. (2550).Act to protect victims of domestic violence. B.E.2550. Bangkok: Government House.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
ทัศนคติ ความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเกษมบัณฑิตฉบับนี้เป็นของผู้เขียน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องมีความเห็นพ้องด้วย