ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับ สัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัวของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขต อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

Authors

  • จิราภรณ์ สำเภาทอง นักศึกษาปริญญาโท สาขาพัฒนาการมนุษย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
  • สาวิตรี ทยานศิลป์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล

Keywords:

สังคมออนไลน์, สัมพันธภาพ, เพื่อน, ครอบครัว

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับ แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย อายุ 15 – 18 ปี ในเขตอ าเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จ านวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย แบบสอบถามและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วย Chi – Square Test ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมด้าน ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ สถานที่ที่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ อุปกรณ์ในการเข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ และประเภทกิจกรรมที่ท าบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน และครอบครัว พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.01 โดยกลุ่มตัวอย่างที่มี ระดับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์สูง มีแนวโน้มที่จะมีสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและ ครอบครัวสูงด้วย ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคือ ผู้ปกครอง โรงเรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับวัยรุ่น สามารถประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ให้เป็นประโยชน์ในการสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างวัยรุ่นกับ เพื่อนและสมาชิกในครอบครัวได้

 

To investigate the association between behavior and motivation of social networks usage and the relationship with friends and families, the data from a sample of 400 high school students aged 15-18 years old in Muang District, Samutsakhon Province were collected by questionnaire and analyzed with Chi-square test. Findings of the study indicated that frequency, time, place, and device of social networks usage as well as type of activity on social networks were associated with motivation significantly (p <0.05). Moreover, the motivation of social networks usage was also associated with relationship with friend groups and families (p<0.01). Furthermore, students who had high motivation for using social networks were likely to be related with friends and families. It was recommend that parents, school staffs and individuals who worked with teenagers could apply social networks for promoting the relationship between teenagers, on the one hand, and their friends and families, on the other.

 

References

Arreekul, Viroj. (2553). Health care and adolescent counseling. Bangkok: Pediatric Division. Phramongkutklao Hospital
and the Department of Military and Community Medicine. College of Medicine, Phramongkutklao.
Heitner, E. I. (2002). the relationship between use of the internet and social and development in adolescence.
Westchester, NY: Pace University.
Kaewsuksai, Rawi and Jussapalo, Chairat (2556). Online social network: Facebook usage for learners’ development.
Princesses of Naradhiwas University Journal, Special Issue 2556, 195 – 205.
Kongrach, Panuwat. (2554). The Study of Teenagers’ Behaviors in Using Social Networking Sites (SNSs) in Thailand: A Case Study of Facebook. Master of Arts Program in Mass. Communication Administration Faculty of Jurnalism and Mass Communication, Thammasat University. National Statistical. Office. (2557). Executive Summary Use of Information and Communication in Households, 2014. Searched on 2558 March 14, Available from http://service.nso.go.th/nso/web/servey/surtec5-1-3.html. Phayomyam, Surapol (2548). Psychology of Relations. Bangkok: BANGKOK - COMETECH INTERTRADE CO., LTD Phetcharaburanin, Prisana (2556). Social Network and Social Force. Phathumwan Academic Journal. Vol 3, no.6 January – April 2013. Prasitwisate, Grisanaporn. (2556). The Communication and Online Social of Facebook With Psychological Well-being. Doctor of Philosophy Program in Communication Arts, Dhurakij Pundit University. Pongsua, Pimsuree,Thamcharean, Yuttana and Phongyeela, Adilla (2556). The Behavior of using social of undergraduates. The 3rd STOU Graduate Research Conference. Rachapiboon, Chanakit (2553). The Study of Online Social Networks Behavior and Their Impact on High School Students in Bangkok. Master of Education Thesis Faculty of Technology Department of Technology and Education King Mongkut's University of Technology Thonburi. vafamilyconnections.org. (2558). Online social networking creates relationships among family members. Searched on 2558 January 8, [online], Available from: http://www. vafamilyconnections.org. Vichitrboonyaruk, Pichit. (2554). Social media: future media. Executive Journal. Bangkok University Press. Zocial, inc. (2557). ‘Online statistics’ Thailand Zocial Award 2014. [online], Available from: www.it24hrs.com. Searched on 2558 march 24

Downloads

Published

2018-03-30

How to Cite

สำเภาทอง จ., ทยานศิลป์ ส., & เจี่ยวิวรรธน์กุล อ. (2018). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับ สัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัวของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขต อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. KASEM BUNDIT JOURNAL, 19(March), 15–28. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/106617

Issue

Section

Research articles