บทบาทของปราชญ์ชาวบ้านในการจัดการตนเองของชุมชน

Authors

  • อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ
  • สุวรรณา เขียวภักดีพร
  • พระปลัดสุระ ญาณธโร
  • กันตพัฒน์ พรสิริวัฒนสิน
  • ปกรณ์ ปรียากร

Keywords:

ปราชญ์ชาวบ้าน; การจัดการตนเอง; ชุมชน

Abstract

บทบาทปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้น าชุมชนที่อาศัยความเชื่อมั่นศรัทธาจากชาวบ้านของการเป็นบุคคล ต้นแบบในการด าเนินชีวิตและเป็นผู้ที่มีคุณธรรมและเสียสละต่อส่วนรวม เป็นผู้สร้างความรู้เข้าใจเกี่ยวกับ ชุมชน สามารถวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนที่ก าลังเผชิญอยู่และน ามาการสร้างกระบวนการเรียนรู้ภายใน ชุมชน โดยการใช้ทักษะด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้สั่งสมมาใช้ในการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ภายในชุมชน รวมไปถึงการน าวัฒนธรรมท้องถิ่นมาสร้างเป็นอัตลักษณ์และความภาคภูมิใจในชุมชน เพื่อกระตุ้นจิตส านึก ของคนในชุมชนให้เกิดความจงรักภักดีต่อชุมชน การสร้างค่านิยมร่วมของชุมชนทางด้านคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นชุมชนแห่งปัญญาที่มีทั้งคนดี และคนเก่ง อีกทั้งการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับ ศาสตร์ต่างๆได้อย่างกลมกลืน มีความรู้ที่เท่าทันและปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ภายนอกได้ พัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และยั่งยืนในอนาคต

The major role of local wisdom scholars is to be community leaders, who are trustworthy of the villagers. Local wisdom scholars exhibit a good role model of struggle for existence, sacrifice and moral for the community as well as knowledge management in community. They use local wisdom to promote learning, communication, and local culture into identity and community pride. They stimulate villagers to share value to be intellectual community and integrate the local wisdom with the science of harmony. Moreover, they are equipped with knowledge and skills for coping with external changes and ability for sustainable future.

 

References

Cohen JM, Uphoff NT. (1980). “Participation’s Place in Rural Development: Seeking Clarity through Specificity”. World Dev. 8(3): p.p. 219 - 222.
David K, Newstrom J.W., (1985). Human Behavior at Work: Organizational Behavior. New York:
McGraw Hill.
Dulyakasem, U., Gnamwitayapong, O., (2540). Education System and Community: Conceptual
and Suggestion for Research. Bangkok: Plan Printing. Thailand.
Ganjanapan. A. (2544). The Complex Method of Community Research: Dynamic and Potential
of Community Development. Bangkok: NRCT. Thailand.
Pongpit, S., Nunthasuwan, W., and Raekpinit, J.,(2545).The Learning Process to Sustainable
Development, Bangkok: Charoenwit Press. Thailand
Poungngarm K. (2553). Self-management and local communities. Bangkok: Bophit
Printing.Thai. Office of the National Economic and Social Development Broad. (2554). The Panning of National Economic and Social Development 12th (2555-2559). Office of the Prime Minister.Thailand.

Downloads

Published

2018-03-31

How to Cite

ปิยะสกุลเกียรติ อ., เขียวภักดีพร ส., ญาณธโร พ., พรสิริวัฒนสิน ก., & ปรียากร ป. (2018). บทบาทของปราชญ์ชาวบ้านในการจัดการตนเองของชุมชน. KASEM BUNDIT JOURNAL, 19(March), 218–228. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/110059

Issue

Section

Academic articles