การศึกษาเปรียบเทียบนโยบายและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ระหว่างประเทศ ไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Keywords:
รูปแบบการท่องเที่ยว; นโบายและกลยุทธ์การสร้างรูปแบบในการท่องเที่ยวAbstract
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาเปรียบเทียบนโยบายและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ผล การศึกษาพบว่า ทั้งสองประเทศมีแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดย ให้ชุมชนมีส่วนร่วม และภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้มีบทบาทส าคัญในการพัฒนาศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว ปัจจัยที่ น าไปสู่ความส าเร็จของการด าเนินงานนั้นประกอบด้วยความรวมมือจากผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชน ทองถิ่น ภาครัฐและภาคเอกชน ความส าเร็จจะน ามาดานการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มาเยือน ดังนั้นการสรางเครือขายการทองเที่ยวโดยเฉพาะ ในทองถิ่นจึงเปนสิ่งส าคัญ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมาให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับแหล่ง ท่องเที่ยวเพื่ออ านวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ แนวทางในการก าหนดนโยบายและกลยุทธ์และการสร้าง รูปแบบในการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยการวิเคราะห์ความพร้อม ของพื้นที่ในด้านความพร้อมด้านสาธารณูปโภค ความพร้อมด้านสิ่งอ านวยความสะดวกความพร้อมด้าน บริการความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์และความพร้อมด้านนโยบายของรัฐแนวทางในการน ากลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบัติควรมียุทธศาสตร์ด้านต่างๆที่จะรองรับการท่องเที่ยวทั้งสองประเทศ
The research’s main aim was to conduct a comparative study of creative tourism policy and model between Thailand and Lao People's Democratic Republic. The study was a qualitative research. It was found that tourism development guidelines of both countries focused on community participation, and the cooperation among public sector, private sector and people . The factors contributing to success of the creative tourism were collaborations of all stakeholders in local communities, state and private sectors. Such achievement will lead to economic and social development and will also bring tourists’ satisfaction. It is therefore important to create tourism network, particularly in the local areas. The guidelines to formulate policy and strategy and to create the format in creative tourism to accommodate Asean Economic Community (AEC) consist of analysis of area’s readiness in terms of infrastructure, facilities, services, human resources, state’s policy, and directions of strategy’s implementation to accommodate tourism in both countries.
References
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
ทัศนคติ ความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเกษมบัณฑิตฉบับนี้เป็นของผู้เขียน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องมีความเห็นพ้องด้วย