E-Learning as Edutainment – The Challenge for Educators
Keywords:
E- Leaning, Edutainment, Consumer Centric Education, การเรียนรูทางอิเล็กทรอนิกส์, นันทนาการทางการศึกษา, การศึกษาที่ให้ผู้บริโภคเป็นศูนยกลางAbstract
This Paper has attempted to introduce the reader to the notion of a marriage between Education and Entertainment to create what is called Edutainment. The sheer growth of E-Learning and the application of new and evolving developments in ICT and MCE devices create many new possibilities and opportunities for the growth of Edutainment. It is argued that these Edutainment developments will greatly assist students to increase control over, and improve their own learning to meet their needs and challenges in the 21st century, while also forcing Traditional Education to move away from its belief that the ‘Teacher knows best,’ when there is a wealth of evidence to the contrary.
A clear distinction is made between Information and Knowledge, pointing out that until and unless Information is processed by the learner’s brain it cannot be converted into new Knowledge, which will then be unique to the learner. The ‘Jones Model of Learning’ is presented to illustrate how this is done under the control of each learner.
The rapid growth in Hypermedia and Hypertext is discussed together with the possibilities these have for the design of new Edutainment content for today’s students. Finally, with the rapid growth of social websites and new and powerful cyber connectivity sites emerging on the internet, these present new challenges and opportunities for the creation of new Edutainment Designed materials.
บทความนี้เป็นความพยายามในการแนะนำความหมายของ Edutainment ซึ่งเกิดจากการผสมระหว่างคำ Education กับ Entertainment การเจริญเติบโตของการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์(E-Leaning) และการประยุกต์ ICT จากพัฒนาการที่เกิดขึ้นและเครื่องมือทางด้าน MCE เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีโอกาสและความเป็นไปได้ของการเจริญเติบโตของ นันทนาการศึกษา (Edutainment) กล่าวกันว่าพัฒนาการของ Edutainment จะช่วยให้นักศึกษาสามารถควบคุมและปรับปรุงการเรียนรู้เพื่อสนอง ตอบต่อความต้องการและความท้าทายต่างๆในศตวรรษที่21ได้เป็นอันมากรวมทั้งทำให้การศึกษาตามประเพณีนิยม (Traditional Edutainment) จากความเชื่อที่ว่า “ครูเป็นผู้รู้ดีที่สุด” เป็นสิ่งที่ต้องยกเลิกไป เพราะมีข้อเท็จจริงหลากหลายที่ขัดแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมดังกล่าว
จากการแสดงให้เห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่าง ข้อมูลข่าวสาร (Information) กับความรู้ (Knowledge) จะเห็นได้ว่าความรู้ใหม่ซึ่งเป็นสิ่งเฉพาะ (Unique) ตัวผู้เรียน จะไม่เกิดขึ้นถ้าข้อมูลข่าวสารมิได้มีการประมวลผ่านสมองของผู้เรียน บทความนี้นำเสนอตัวแบบการเรียนรู้ของโจนส์ (The Jones Model of Learning) เพื่อแสดงให้เห็นว่ากระบวนการดังกล่าวนี้ดำเนินไปอย่างไรภายใต้การควบคุมของผู้เรียนแต่ละคน
บทความนี้อภิปรายถึงการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของ Hypermedia และ Hypertextกับความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้นในการออกแบบสาระของ Edutainment ยุคใหม่สำหรับนักศึกษา ด้วยการที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วของ Social websites และความเชื่อมโยง กับ Websites อื่นทาง Internetอย่างกว้างขวาง จึงเป็นความท้าทายและโอกาส สำหรับการสร้างวัสดุอุปกรณ์ใหม่ๆทาง Edutainment
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
ทัศนคติ ความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเกษมบัณฑิตฉบับนี้เป็นของผู้เขียน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องมีความเห็นพ้องด้วย