การวิเคราะห์ตัวแบบความสัมพันธ์ตัวแปรแทรกกลาง กำกับ และกำกับแทรกกลาง

Authors

  • ณัฐพล ขันธไชย
  • ศรศักดิ์ ชูดำ

Keywords:

ตัวแปรอิสระ , ตัวแปรแทรกกลาง , ตัวแปรกำกับ , ตัวแปรกำกับแทรกกลาง , ตัวแปรตาม

Abstract

วัตถุประสงค์: เสนอทฤษฎีและวิธีการวิเคราะห์ตัวแบบความสัมพันธ์ตัวแปรแทรกกลาง กำกับ และกำกับแทรกกลาง วิธีการวิจัย: การวิจัยจากเอกสารและข้อมูลตัวอย่างการวิเคราะห์จากอินเทอเน็ต ผลลัพธ์: ความสัมพันธ์ตัวแปรแทรกกลาง คือตัวแบบความสัมพันธ์ประกอบด้วยตัวแปรอิสระ ตัวแปรแทรกกลาง และตัวแปรตาม โดยความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามเป็นความสัมพันธ์ทางอ้อมผ่านตัวแปรแทรกกลาง ความสัมพันธ์แบบแทรกกลางอาจเป็นแบบโดยสมบูรณ์หรือบางส่วน และเป็นเชิงบวกหรือเชิงลบ ส่วนตัวแปรกำกับเป็นตัวแปรซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ ในตัวแบบตัวแปรกำกับแทรกกลาง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม เป็นตัวแบบซึ่งมีทั้งตัวแปรกำกับและตัวแปรแทรกกลาง นัยทางทฤษฎี/นโยบาย: วิธีการวิเคราะห์ตัวแบบ ความสัมพันธ์แทรกกลาง กำกับ และกำกับแทรกกลาง ทำให้นักวิจัยเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

References

Borau, S., Akremi, A. E., Elgaaied-Gambier, L., Hamdi-Kidar, L., & Ranchux, C. (2015). Analyzing moderated mediation effects: Marketing applications, Recherche et Applications en Marketing (English edition). https://doi.org/ 10.1177/2051570715606278.

Baron, R. M. & Kenny, D. A. (1986). The moderator-mediator variable distinction in social psychological research: Conceptual, strategic, and statistical considerations. Journal of Personality and Social Psychology, 51(6), 1173-1182.

Hayes, A. F. (2015). An index and test of linear moderated mediation, Multivariate Behavioral Research, 50(1). https://doi.org/10.1080/0027371.2014.962683.

----------. (2017). Introduction to Mediation, Moderation, and condition analysis: A regression-based approach. Guilford Publications.

Mackinnon, D. P., Fairchild, A. T., & Frith, M. S. (2007). Mediation analysis. Annual Review of Psychology, 58, 593-614.

Mackinnon, D. P. (2009). A general model for testing mediation and moderation effects. Prev. Sci, 10(2), 87-99.

Muller, D., Judd, C. M., & Uzerbyt, V. Y. (2005). When moderation is mediated and mediation is moderated. Journal of Personality and Psychology, 89(6), 852-563.

Preacher, K. T., Rucker, D. D., & Hayes, A. F. (2007). Addressing moderated mediation hypothesis: Theory, methods and prescriptions. Multivariate Behavioral Research, 42. https://doi.org/10.1080/002737013416.

Sobel, M. E. (1982). Asymptotic confidence intervals for indirect effects in structural equation models. In Leihart, S. (Ed.), Sociological Methodology 1982. Jossey-Bass.

Downloads

Published

2023-06-06

How to Cite

ขันธไชย ณ. ., & ชูดำ ศ. . (2023). การวิเคราะห์ตัวแบบความสัมพันธ์ตัวแปรแทรกกลาง กำกับ และกำกับแทรกกลาง. KASEM BUNDIT JOURNAL, 24(1), 110–131. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/264686

Issue

Section

Academic articles